ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

ณัฐฐ์วัฒน์ สุทธิโยธิน ประวัติ ผลงาน ความสำเร็จ

ประวัติและผลงานของณัฐฐ์วัฒน์ สุทธิโยธิน
------------------------------------
ดร.ณัฐฐ์วัฒน์ สุทธิโยธิน
Dr.Nattawat Suttiyotin
-----
สาระสำคัญโดยย่อ

ดร.ณัฐฐ์วัฒน์ สุทธิโยธิน Dr.Nattawat Suttiyotin
อาจารย์มหาวิทยาลัยด้านนิเทศศาสตร์ ผู้มีความเชี่ยวชาญด้าน "การสร้างพลังสู่ความสำเร็จทางธุรกิจและชีวิตบุคคล"
-----
ประวัติส่วนบุคคล ประวัติการศึกษา ประวัติการทำงาน ประสบการณ์ ผลงาน ชื่อเสียงเกียรติคุณ

ความรู้ความสามารถ: สื่อ การสื่อสาร การบริหารจัดการ การตลาด การโฆษณา การประชาสัมพันธ์ การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ การผลิตรายการโทรทัศน์ การสื่อสารองค์กร กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร การวิจัยการสื่อสาร

ความเชี่ยวชาญ: 6 ด้าน ได้แก่ 1. สื่อ (Media) 2. สาร (Message) 3. การสื่อสาร (Communication) 4. นวัตกรรมการสื่อสาร (Communication Innovation) 5. การบริหารจัดการ (Management) 6. การวิจัยการสื่อสาร (Communication Research)

ประวัติการศึกษา:
ปริญญาตรี นิติศาสตรบัณฑิต วิชาเอกนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง พ.ศ. 2526
ปริญญาโท สังคมศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอก อาชญาวิทยาและงานยุติธรรม มหาวิทยาลัยมหิดล พ.ศ. 2529
ปริญญาโท นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอก การสื่อสารมวลชน จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2535
ปริญญาเอก ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาพัฒนาทรัพยากรชนบท มหาวิทยาลัยแม่โจ้ พ.ศ. 2558

วิทยานิพนธ์ปริญญาโท มหาวิทยาลัยมหิดล
เรื่อง การยอมรับบทบาทของหน่วยรักษาความปลอดภัยเอกชนของผู้พักอาศัยในหมู่บ้านจัดสรรในเขตกรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2529

วิทยานิพนธ์ปริญญาโท จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เรื่อง กลยุทธ์การสร้างสรรค์รายการวาไรตี้ทางโทรทัศน์ พ.ศ. 2535

ดุษฎีนิพนธ์ปริญญาเอก มหาวิทยาลัยแม่โจ้
เรื่อง รูปแบบการตลาดข้าวอินทรีย์ในเขตภาคเหนือตอนบน พ.ศ. 2558

ตำแหน่งปัจจุบัน: อาจารย์ประจำสาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (เริ่มทำงาน 4 กุมภาพันธ์ 2536 ถึง ปัจจุบัน) ปัจจุบันดำรงตำแหน่ง รองศาสตราจารย์ ระดับ 9 (1 พฤษภาคม 2561)

ตำแหน่งทางวิชาการ: รองศาสตราจารย์

ตำแหน่งบริหารในปัจจุบัน : (1 พฤษภาคม 2561)
1. กรรมการประจำสาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
2. กรรมการบริหารหลักสูตร นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต แขนงวิชา นวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น

ประสบการณ์ทำงานที่สำคัญ:
1. ผู้ช่วยโฆษกประจำสำนักนายกรัฐมนตรี
2. ช่วยราชการ พณฯ นายกรัฐมนตรี
3. หัวหน้าคณะทำงานสื่อสารประชาสัมพันธ์ช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย
4. หัวหน้าคณะทำงานสื่อสารประชาสัมพันธ์การแถลงผลงานรัฐบาล
5. ผู้แทนนายกรัฐมนตรีในการเจรจากับผู้นำการชุมนุมของเครือข่ายชาวนาไทย
6. เข้าร่วมในที่ประชุมคณะรัฐมนตรีเพื่อรวบรวมข้อมูลแถลงข่าว
7. แถลงข่าวผลการประชุมคณะรัฐมนตรี
8. ผู้จัดรายการโทรทัศน์ "สายตรงทำเนียบ" รายการแถลงผลการประชุมคณะรัฐมนตรี ทางสถานีโทรทัศน์ ช่อง 11 กรมประชาสัมพันธ์ ออกอากาศทุกวันอังคาร ช่วงค่ำ
9. ผู้จัดรายการโทรทัศน์ "ข่าวรัฐบาล" รายการแถลงผลการประชุมคณะรัฐมนตรี ทางสถานีโทรทัศน์ ช่อง 11 กรมประชาสัมพันธ์ ออกอากาศทุกวันเสาร์ 10.00 น.

การศึกษาดูงาน
1. ประเทศออสเตรเลีย ที่ University of Technology, Sydney ด้าน Technology for Mass Communication
2. ประเทศนิวซีแลนด์ ที่ NZTV, Auckland ด้าน Television Production และที่ Wellington
3. ประเทศญี่ปุ่น ที่สถานีโทรทัศน์ NHK และที่มหาวิทยาลัย Kagoshima ด้าน ICT, ICT for agriculture development, Organic Farming, Organic Product
4. ประเทศสิงคโปร์ ที่ STV ด้าน Television Production และที่ AMIC
5. ประเทศมาเลเซีย ที่ Film Negara ด้าน Film Making


การศึกษาดูงานและฝึกอบรม
    พ.ศ. 2524 "Television Program Production" Thomson Foundation, England หลักสูตร Television Program Production จัดโดยสถานีโทรทัศน์ ช่อง 9 อ.ส.ม.ท.การผลิตรายการโทรทัศน์
พ.ศ. 2526 ฝึกอบรมด้านระบบ อุปกรณ์ การบริหารจัดการ ระบบสตูดิโอผลิตรายการโทรทัศน์และรายการวิทยุกระจายเสียง ประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2526 "เทคนิคการผลิตรายการโทรทัศน์" สถานีโทรทัศน์ NHK ประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2533 "Film Making" at Film Negara NHK ประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2533 Film Negara สถานีโทรทัศน์ MTV ประเทศมาเลเซีย สถานีโทรทัศน์ MTV ประเทศมาเลเซีย สถานีโทรทัศน์ STV ประเทศสิงคโปร์ ศูนย์วิจัยด้านการสื่อสาร AMIC Center ประเทศสิงคโปร์
พ.ศ. 2537 สถานีโทรทัศน์นิวซีแลนด์ NZTV ประเทศนิวซีแลนด์
พ.ศ. 2537 มหาวิทยาลัย Auckland Institute of Technology ประเทศนิวซีแลนด์
พ.ศ. 2537 มหาวิทยาลัย Wellington Poly- Technique ประเทศนิวซีแลนด์
พ.ศ. 2537 University of Technology, Sydney (UTS) ประเทศออสเตรเลีย
พ.ศ. 2544 เข้าอบรมหลักสูตรผู้บริหารระดับกลางของมหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2545 ศึกษาดูงานด้านการบริหารจัดการมหาวิทยาลัย University of Hong Kong
              ประเทศฮ่องกง
พ.ศ. 2555 ศึกษาดูงานด้าน ICT ที่ Kagoshima University ประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2555 ศึกษาดูงานด้าน การเกษตรอินทรีย์ Kagoshima University ประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2555 ศึกษาดูงานด้าน การเกษตรอินทรีย์ Kumamoto Farming ประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2555 ศึกษาดูงานด้าน การผลิตไฟฟ้าจากพลังงานลม ประเทศญี่ปุ่น
พ.ศ. 2555 ศึกษาดูงานด้าน การบริหารจัดการศูนย์ดูแลผู้สูงอายุของเมือง Kumamoto

              ประเทศญี่ปุ่น

วิทยากรบรรยายพิเศษ
          1. วิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ “การเขียนข่าวและการผลิตข่าวโทรทัศน์” หลักสูตร New Gen Reporter ที่ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทบุรี อำนวยการโดยสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ พ.ศ. 2559
          2. วิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ “การเขียนข่าวและการผลิตข่าวโทรทัศน์” หลักสูตร New Gen Reporter ที่ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี อำนวยการโดยสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ พ.ศ. 2559
3. วิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ “การเขียนข่าวและการผลิตข่าวโทรทัศน์” หลักสูตร New Gen Reporter ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี อำนวยการโดยสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ พ.ศ. 2559
          4. วิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ “การเขียนข่าวและการผลิตข่าวโทรทัศน์” หลักสูตร New Gen Reporter ที่มหาราชภัฏนครราชสีมา อำนวยการโดยสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ พ.ศ. 2559
          5. วิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ “การเขียนข่าวและการผลิตข่าวโทรทัศน์” หลักสูตร New Gen Reporter ที่ที่มหาราชภัฏอุดรธานี อำนวยการโดยสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ พ.ศ. 2559
          6. วิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ “การเขียนข่าวและการผลิตข่าวโทรทัศน์” หลักสูตร New Gen Reporter ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม อำนวยการโดยสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ พ.ศ. 2559
          7. วิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ “การเขียนข่าวและการผลิตข่าวโทรทัศน์” หลักสูตร New Gen Reporter ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎรธานี อำนวยการโดยสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ พ.ศ. 2559
8. วิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ “การเขียนข่าวและการผลิตข่าวโทรทัศน์” หลักสูตร New Gen Reporter ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง อำนวยการโดยสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ พ.ศ. 2559
9. วิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ “การเขียนข่าวและการผลิตข่าวโทรทัศน์” หลักสูตร New Gen Reporter ที่มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ อำนวยการโดยสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ พ.ศ. 2559
10. วิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ “การเขียนข่าวและการผลิตข่าวโทรทัศน์” หลักสูตร New Gen Reporter ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต อำนวยการโดยสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ พ.ศ. 2559
11. วิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ “การเขียนข่าวและการผลิตข่าวโทรทัศน์” หลักสูตร New Gen Reporter ที่มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี อำนวยการโดยสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ พ.ศ. 2559
12. วิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ “การเขียนข่าวและการผลิตข่าวโทรทัศน์” หลักสูตร New Gen Reporter ที่มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร อำนวยการโดยสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ พ.ศ. 2559
13. วิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ “การเขียนข่าวและการผลิตข่าวโทรทัศน์” หลักสูตร New Gen Reporter ที่มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต อำนวยการโดยสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ พ.ศ. 2559
          14. วิทยากรบรรยายและฝึกปฏิบัติ “การเขียนข่าวและการผลิตข่าวโทรทัศน์” หลักสูตร New Gen Reporter ที่มหาวิทยาลัยกรุงเทพ อำนวยการโดยสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ พ.ศ. 2559
          15. วิทยากรบรรยายหัวข้อ “จรรยาบรรณและฎหมายเกี่ยวกับการประชาสัมพันธ์” หลักสูตรนายทหารนักประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรือน กองทัพบก พ.ศ. 2560
          16. วิทยากรบรรยายหัวข้อ “การเขียนข่าวประชาสัมพันธ์” หลักสูตรนายทหารนักประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรือน กองทัพบก พ.ศ. 2560
          17. วิทยากรบรรยายหัวข้อ “การสร้างภาพลักษณ์” หลักสูตรนายทหารนักประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรือน กองทัพบก พ.ศ. 2560
          18. วิทยากรบรรยายหัวข้อ “การสร้างความผูกพัน” หลักสูตรนายทหารนักประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรือน กองทัพบก พ.ศ. 2560
          19. วิทยากรบรรยายหัวข้อ “เทคนิคการเขียนข่าวประชาสัมพันธ์” หลักสูตรนายทหารนักประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรือน กองทัพบก พ.ศ. 2561

          20. วิทยากรบรรยายหัวข้อ “เทคนิคการเขียนข่าวออนไลน์” หลักสูตรนายทหารนักประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรือน กองทัพบก พ.ศ. 2561

ผลงาน:

ผลงานการเขียนหนังสือล่าสุด: (ข้อมูล ณ วันที่ 1 พฤษภาคม 2561)

ผลงานทางวิชาการ
ตำราระดับปริญญาตรี
          1. เรื่อง “กระบวนการของการโฆษณา” หน่วยที่ 7 ในเอกสารการสอนชุดวิชา หลักการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2552
          2. เรื่อง “การสื่อความหมายทางโทรทัศน์” (ทฤษฎีสัญวิทยา) หน่วยที่ 4 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2548
          3. เรื่อง “การเล่าเรื่องทางโทรทัศน์” (ทฤษฎีการเล่าเรื่อง) หน่วยที่ 5 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2548
          4. เรื่อง “แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์” หน่วยที่ 1 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การสร้างสรรค์ข่าวโทรทัศน์ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2548
5. เรื่อง “แนวคิดเกี่ยวกับการสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์” หน่วยที่ 1 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การสร้างสรรค์ข่าวโทรทัศน์ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2554
          6. เรื่อง “การสร้างสารและการสื่อความหมายในรายการโทรทัศน์” หน่วยที่ 3 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การสร้างสรรค์ข่าวโทรทัศน์ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2554
7. เรื่อง “การสร้างสรรค์รายการข่าวโทรทัศน์” หน่วยที่ 7 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2554
          8. เรื่อง “การสร้างสรรค์ละครโทรทัศน์” หน่วยที่ 8 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2548
9. เรื่อง “การสร้างสรรค์ละครโทรทัศน์” หน่วยที่ 9 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2548
          10. เรื่อง “การสื่อความหมายด้วยภาพและเสียงเพื่อผลิตรายการโทรทัศน์” หน่วยที่ 8 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2550
11. เรื่อง “การสร้างรายการกีฬาทางโทรทัศน์” หน่วยที่ 12 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การสร้างสรรค์รายการโทรทัศน์ ฉบับพิพม์ครั้งที่ 1 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2549
          12. เรื่อง “การผลิตรายการข่าว” หน่วยที่ 13 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การผลิตรายการโทรทัศน์เบื้องต้น ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2550
          13. เรื่อง “ปฏิบัติการผลิตรายการข่าวโทรทัศน์” หน่วยที่ 9 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2549
          14. เรื่อง “ปฏิบัติการผลิตรายการละครโทรทัศน์” หน่วยที่ 8 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การผลิตรายการโทรทัศน์ขั้นสูง สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2549
15. เรื่อง “การบริหารงานโทรทัศน์ด้านธุรกิจ” หน่วยที่ 6 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การบริหารงานโทรทัศน์ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 1 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2552
          16. เรื่อง “การสร้างสารด้วยการแสดง” หน่วยที่ 12 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การสร้างสารในงานนิเทศศาสตร์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2549
          17. เรื่อง “การวิจัยเพื่อการสร้างสาร” หน่วยที่ 5 ในเอกสารการสอนชุดวิชา การสร้างสารในงานนิเทศศาสตร์ สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2549
          18. “จริยธรรมสื่อสารมวลชน” หน่วยที่ 5 ในเอกสารการสอนชุดวิชา กฎหมายและจริยธรรมด้านนิเทศศาสตร์ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2547
          19. “กฎหมายวิทยุกระจายเสียงและวิทยุโทรทัศน์” หน่วยที่ 10 ในเอกสารการสอนชุดวิชา กฎหมายและจริยธรรมด้านนิเทศศาสตร์ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2547
          20. “กฎหมายภาพยนตร์” หน่วยที่ 11 ในเอกสารการสอนชุดวิชา กฎหมายและจริยธรรมด้านนิเทศศาสตร์ ฉบับพิมพ์ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2547

21. “กฎหมายการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์” หน่วยที่ 10 ในเอกสารการสอนชุดวิชา กฎหมายและจริยธรรมด้านนิเทศศาสตร์ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พิมพ์ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2554
          22. “กฎหมายภาพยนตร์และวีดิทัศน์” หน่วยที่ 11 ในเอกสารการสอนชุดวิชา กฎหมายและจริยธรรมด้านนิเทศศาสตร์ ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2 พิมพ์ครั้งที่ 1 มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2554
          23. เรื่อง “กฎหมายสื่อสารมวลชน” เอกสารประกอบการสอนวิชา กฎหมายสื่อมวลชน มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2547
          24. เรื่อง “จริยธรรมสื่อสารมวลชน” เอกสารประกอบการสอนวิชา กฎหมายสื่อมวลชน มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2547
          25. เรื่อง “กฎหมายหมิ่นประมาท” เอกสารประกอบการสอนวิชา กฎหมายสื่อมวลชน มหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. 2548

ตำราระดับปริญญาโทด้านนิเทศศาสตร์
1. เรื่อง “ทฤษฎีเกี่ยวกับผู้รับสาร” หน่วยที่ 8 ในประมวลสาระชุดวิชา ทฤษฎีการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น พิมพ์ครั้งที่ 1 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2560
2. เรื่อง “ทฤษฎีเกี่ยวกับสาร สื่อ และผลของการสื่อสาร” หน่วยที่ 9 ในประมวลสาระชุดวิชา ทฤษฎีการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น พิมพ์ครั้งที่ 1 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2560
3. เรื่อง “ทฤษฎีการสื่อสารมวลชน” หน่วยที่ 10 ในประมวลสาระชุดวิชา ทฤษฎีการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น พิมพ์ครั้งที่ 1 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2560
4. เรื่อง “ทฤษฎีพลังสื่อใหม่” หน่วยที่ 11 ในประมวลสาระชุดวิชา ทฤษฎีการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น พิมพ์ครั้งที่ 1 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2560
5. เรื่อง “การวิจัยเชิงคุณภาพ” หน่วยที่ ใน ประมวลสาระชุดวิชา การวิจัยการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2560
6. เรื่อง “การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย” หน่วยที่ 11 ในประมวลสาระชุดวิชา การวิจัยการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2560
7. เรื่อง “การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อการวิจัย” หน่วยที่ 7 ในประมวลสาระชุดวิชา วิทยานิพนธ์ 2 สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2548
8. เรื่อง “การสร้างและการพัฒนานวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น” หน่วยที่ 2 ในแนวการศึกษาชุดวิชา การจัดการนวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2561
9. เรื่อง “การออกแบบสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น” หน่วยที่ 4 ในแนวการศึกษาชุดวิชา การจัดการนวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2561
10. เรื่อง “การจัดการนวัตกรรมการใช้สื่อเพื่อการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น” หน่วยที่ 5 ในแนวการศึกษาชุดวิชา การจัดการนวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2561
11. เรื่อง “การจัดการนวัตกรรมการใช้สื่อเพื่อการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น” หน่วยที่ 4 ในแนวการศึกษาชุดวิชา การจัดการนวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 256
12. เรื่อง “การผลิตและการเผยแพร่สื่อเพื่อการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น” หน่วยที่ 6 ในแนวการศึกษาชุดวิชา การจัดการนวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2561
13. เรื่อง “การจัดการการสื่อสารเพื่อสร้างแบรนด์และภาพลักษณ์เพื่อการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น” หน่วยที่ 11 ในแนวการศึกษาชุดวิชา การจัดการนวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2561
14. เรื่อง “การจัดการการนวัตกรรมการสื่อสารด้วยเทคโนโลยีสารสนเทศ” หน่วยที่ 15 ในแนวการศึกษาชุดวิชา การจัดการนวัตกรรมการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2561
15. เรื่อง “การบูรณการการจัดการความรู้ การสร้างการมีส่วนร่วม และการสร้างความเป็นพลเมืองการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น” หน่วยที่ 8 ในแนวการศึกษาชุดวิชา บูรณาการการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น สาขาวิชานิเทศศาสตร์ พ.ศ. 2561
16. เรื่อง “กฎหมายและจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น” หน่วยที่ 10 ในแนวการศึกษาชุดวิชา บูรณาการการสื่อสารทางการเมืองและการปกครองท้องถิ่น สาขาวิชานิเทศศาสตร์ พ.ศ. 2561
17. เรื่อง “การประยุกต์ใช้นวัตกรรมการสื่อสาร” หน่วยที่ 6 ในประมวลสาระชุดวิชา นวัตกรรมการสื่อสาร สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2561

ตำราระดับปริญญาโทด้านนิติศาสตร์และอาชญาวิทยา
1. ตำราเรื่อง "ทฤษฎีความรับผิดทางอาญา" ในหน่วยที่ 2 แนวการศึกษาชุดวิชา กฎหมายอาญาและอาชญาวิทยาชั้นสูง สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2555
2. ตำราเรื่อง "ทฤษฎีอาชญวิทยา" ในหน่วยที่ 5 แนวการศึกษาชุดวิชา กฎหมายอาญาและอาชญาวิทยาชั้นสูง สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2555

3. ตำราเรื่อง "ทฤษฎีการลงโทษ" ในหน่วยที่ 6 แนวการศึกษาชุดวิชา กฎหมายอาญาและอาชญาวิทยาชั้นสูง สาขาวิชานิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช พ.ศ. 2555

เอกสารประกอบการฝึกอบรม
1. เรื่อง การผลิตข่าวด้วยโทรศัพท์มือถือ (Mobile Journalism)” เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตร New Gen Reporter อำนวยการโดยสถานีโทรทัศน์สปริงนิวส์ จัดอบรมจำนวน 15 ครั้ง พื้นที่ทั่วประเทศ พ.ศ. 2559
2. เรื่อง “หลักการเขียนข่าวประชาสัมพันธ์” เอกสารประกอบการฝึกอบรม หลักสูตรนายทหารนักประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรือน กองทัพบก พ.ศ. 2560
3. เรื่อง “หลักการเขียนข่าวประชาสัมพันธ์ทางสื่อออนไลน์” เอกสารประกอบการฝึกอบรม หลักสูตรนายทหารนักประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรือน กองทัพบก พ.ศ. 2560
4. เรื่อง “การสร้างภาพลักษณ์” เอกสารประกอบการฝึกอบรม หลักสูตรนายทหารนักประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรือน กองทัพบก พ.ศ. 2560
5. เรื่อง “การสร้างความผูกพัน” เอกสารประกอบการฝึกอบรม หลักสูตรนายทหารนักประชาสัมพันธ์ กรมกิจการพลเรือน กองทัพบก พ.ศ. 2560


ผลงานวิจัย
          1. การวิจัยเรื่อง “การส่งเสริมบทบาทของภาคประชาชนในการป้องกันและปราบปรามการทุจริต” สำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2550
          2. การวิจัยเรื่อง “มาตรการติดตามการปฏิบัติตามพระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่” สำนักงานกิจการยุติธรรม กระทรวงยุติธรรม พ.ศ. 2552
          3. การวิจัยเรื่อง “ยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อการมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ในกลุ่มเด็กและเยาวชนสำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ พ.ศ. 2556
          4. การวิจัยเรื่อง “บทบาทของผู้นำทางความคิดในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ” สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ พ.ศ. 2556
          5. การวิจัยเรื่อง “ยุทธศาสตร์การสื่อสารเพื่อการมีส่วนร่วมในการป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ ในกลุ่มประชาชน” สำนักงานป้องกันและปราบปรามการทุจริตในภาครัฐ พ.ศ. 2556

          6. การวิจัยเรื่อง “การบริหารจัดการภาพลักษณ์ขององค์การบริหารส่วนตำบลบางขุนกอง อำเภอบางกรวย จังหวัดนนทบุรี” (อยู่ระหว่างการวิเคราะห์ข้อมูลและสรุปผลการวิจัย คาดว่าจะเสร็จเดือนมิถุนายน 2561)

งานด้านการเป็นที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์และดุษฎีนิพนธ์:
งานด้านวิทยานิพนธ์: เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาและควบคุมการทำวิทยานิพนธ์ ปริญญาโท
เรื่องต่อไปนี้ (ข้อมูลเพียงบางส่วน)
1. เรื่่อง การสื่อสารตราสินค้าไทย
2. เรื่อง การสื่อสารของบทเพลงลูกทุ่งกับผู้ใช้แรงงงาน
3. การสื่อสารเชิงสัญญะของร้านกาแฟสตาร์บัคส์
4. เรื่อง การสื่อสารเชิงสัญญะในภาพยนตร์เรื่องเมืองเหงาซ่อนรัก
5. เรื่อง การประชาสัมพันธ์ด้านการรักษาสิ่งแวดล้อมของโรงไฟฟ้า
6. เรื่อง การสื่อสารในภาพยนตร์เพื่อผู้พิการทางสมอง
7. การสื่อสารเชิงสัญญะของภาพยนตร์ไทยเรื่อง เมืองเหงาซ่อนรัก
8. เรื่อง การเปิดรับ ความต้องการ และความพึงพอใจที่มีต่อรายการข่าวโทรทัศน์ของสถานีโทรทัศน์ทีนิวส์ของประชาชนในเขตกรุงเทพมหานคร
9. เรื่อง กลยุทธ์การสร้างสรรค์รายการโอ้เบบี้ในไลน์ทีวี พ.ศ. 2559
10. เรื่อง กลยุทธ์การสร้างสรรค์โฆษณาไวรัล พ.ศ. 2561
11. เรื่อง กลยุทธ์การแพร่ภาพสดผ่าน "เฟซบุ๊กไลฟ์" ที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าแฟชั่น พ.ศ. 2561

งานด้านดุษฎีนิพนธ์: เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาและควบคุมการทำดุษฎีนิพนธ์ ปริญญาเอก 
เรื่อง ผู้ทรงอิทธิพลในสื่อสังคมออนไลน์กับการจัดการการสื่อสารด้านท่องเที่ยว (Influencer)

ผลงานการสร้างสรรค์และผลิตสื่อ
ครีเอทีฟและโปรดิวเซอร์ผลิตรายการโทรทัศน์ ชุดรายการ "สนุกกับกฎหมาย" รายการสาระบันเทิงเกี่ยวกับกฎหมาย เผยแพร่ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 11 และสถานีโทรทัศน์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช






ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตสำนึก (Consciousness) การสร้างจิตสำนึก และการปลูกฝังจิตสำนึก

ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตสำนึก (Consciousness) การสร้างจิตสำนึก และการปลูกฝังจิตสำนึก ........................................................................................................................................ จิตสำนึกคืออะไร? สร้างอย่างไร? ปลูกฝังอย่างไร? ความหมายของจิตสำนึก จิตสำนึก (Consciousness) หมายถึง ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกตระหนัก และการให้ความสำคัญ ต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกิดขึ้นในระบบความคิดและจิตใจของมนุษย์ ลักษณะของจิตสำนึก จิตสำนึกเป็นสภาวะที่ผสมผสานกันระหว่าง ความรู้ความเข้าใจ ความคิด และความรู้สึก การเกิดจิตสำนึก จิตสำนึก (Consciousness) เกิดจากการรับรู้ การเรียนรู้ การประเมินค่า จากสิ่งเร้าต่าง ๆ ประสบการณ์ จนเกิดเป็นความตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องนั้น สิ่งเร้าที่มนุษย์รับรู้ เรียนรู้ จนพัฒนามาเป็นจิตสำนึก ประกอบด้วยข้อมูลข่าวสาร ประสบการณ์ อารมณ์ สภาพสังคม และวัฒนธรรม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดจิตสำนึก 1. การรับรู้ 2. ทัศนคติ 3. ประสบการณ์ 4. ระยะเวลาในการรับรู้ ความถี่ ความต่อเนื่อง ผลของ

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐฐ์วัฒน์  สุทธิโยธิน 9 มิถุนายน 2559             การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย เป็นขั้นตอนที่สำคัญของการสร้างเครื่องมือวิจัยให้มีคุณภาพ สามารถนำไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อวัดตัวแปรได้ถูกต้อง แม่นยำ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ มีความเชื่อถือได้ ซึ่งผู้วิจัยควรดำเนินการตามลำดับขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. การตรวจสอบเครื่องมือวิจัยเบื้องต้น             การตรวจเครื่องมือวิจัย สอบเบื้องต้น มีสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัยต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี้             1.1 การตรวจสอบเชิงโครงสร้างของเครื่องมือวิจัย ผู้วิจัยต้องตรวจสอบว่า เครื่องมือวิจัยที่ตนเองสร้างขึ้นมานั้น มีความครอบคลุม มีความครบถ้วน ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยทุกข้อหรือไม่ ถ้ายังไม่ครบต้องดำเนินการสร้างเครื่องมือวัดให้ครบ             1.2 การตรวจสอบเชิงแนวคิด ผู้วิจัยต้องตรวจสอบเครื่องมือวิจัยโดยนำ “กรอบแนวคิดการวิจัย” (conceptual framework) มาใช้เป็นหลักในการตรวจสอบเทียบเคียงกับเครื่องมือวิจัยที่สร้างขึ้นว่า มีการ “วัดตัวแปร” หรือมีการ “เขียนข้อคำถาม” ครบถ้วนทุกตัวแปร ทุกประเด็น

นวัตกรรม ตอนที่ 4 กระบวนการสร้างนวัตกรรม

บทนำ การสร้างนวัตกรรมมีลักษณะเป็นกระบวนการ กระบวนการสร้างนวัตกรรมเป็นการสร้างการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการหลัก 4 กระบวนการ คือ           1. กระบวนการสร้างความคิด (Idea generation)           2. กระบวนการสร้างโอกาส (Opportunity recognition)           3. กระบวนการพัฒนา (Development)           4. กระบวนการทำให้เป็นจริง (Realization)             การสร้างนวัตกรรมเป็นเรื่องที่องค์กรจะต้องมีวิสัยทัศน์ มีเป้าหมาย และมีกลยุทธ์ในการดำเนินการ การสร้างนวัตกรรมมีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดการสร้างนวัตกรรมใหม่ขึ้นมา ในการนำเสนอเนื้อหาตอนนี้ที่ว่าด้วยกระบวนการสร้างนวัตกรรม จะได้กล่าวถึงเป้าหมายของการสร้างนวัตกรรม การเปลี่ยนแปลงกับการสร้างนวัตกรรม และกระบวนการสร้างนวัตกรรม เป้าหมายของการสร้างนวัตกรรม การสร้างนวัตกรรมมีเป้าหมาย 10 ประการคือ (O’Sullivan and Dooley, 2009 pp.58-59) 1. การปรับปรุงคุณภาพ (Improve quality) เป็นการปรับปรุงคุณภาพของสินค้า หรือบริการ หรือกระบวนการในการให้บริการหรือกระบวนการในการทำงานขององค์กรให้ดียิ่งขึ้น 2. การสร้างสรรค