ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

เป้าหมายของการสื่อสารทางสื่อ (Social Media Usage Purposes)

เป้าหมายของการสื่อสารทางสื่อ (Social Media Usage Purposes)
.....................................

เป้าหมายของการสื่อสาร (communication purposes) การใช้สื่อและสารในการสื่อสารทางโซเชียลมีเดีย แบ่งออกเป็น 10 ประเภท
.....
1. เพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสารทั่วไป (genreral inform) เช่น บ่ายนี้ฝนจะตกเป็นบริเวณกว้างของประเทศไทย
.
2. เพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสารตักเตือนภัย (surveilance) เช่น พายุขนาใดหญ่จะเข้าพรุ่งนี้ น้ำอาจท่วมฉับพลันขอให้เตรียมรับมือ
.
3. เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อถกเถียงอภิปราย เพื่อรวบรวมความคิดเห็น เพื่อประมวลความคิดเห็น เพื่อหามติสาธารณะ (correlation)
.
4. เพื่อบอกเล่าเรื่องราวในชีวิตตนเอง (life story telling) เกี่ยวกับ
.
4.1 งาน (works) เช่น ทำคดี ว่าความ ทำข่าว ขายสินค้าออนไลน์ สักคิ้ว
.
4.2 กิจกรรม (activities) เช่น ทำกับข้าว ตัดหญ้า ออกกำลังกาย ไปฟิตเนส ให้อาหารแมว อาบน้ำสุนัข เล่นกับแมว เลี้ยงกระต่าย เลี้ยงควาย เลี้ยงวัว
.
4.3 กินและดื่ม (meals, food, drink) รายการอาหารมื้อเช้า กลางวัน เย็น ค่ำ ดึกที่ตนเองกินและดื่ม กาแฟ เบียร์ ไวน์ วิสกี้ แชมเปญ สปาร์กลิ้งไวน์ คาร์เวีนย แซลมอน ปลาดิบ ปลาสลิด ปลาช่อน ปลากระพง หมูย่าง โคขุน สลัด ผัดผัก
.
4.4 ความรู้สึก (feels) เช่น เป็นสุขใจ มีพลัง ความสุข ความอิ่มเอมใจ ความเครียด ความวิตก ความกังวลใจ
..
4.5 อารมณ์ (mood) เช่น โกรธ ไม่พอใจ หงุดหงิด

4.6 ไลฟ์สไตล์ (lifestyle) เช่น ช็อปปิ้ง เลือกซื้อเสื้อผ้า สังสรรค์ ปาร์ตี้ ตีกอล์ฟ อ่านหนังสือ ขี่จักรยาน วิ่ง เดิน
.
5. เพื่อให้ความรู้และให้การศึกษา (educate)
.
6. เพื่อให้ความบันเทิง (entertain)
.
7. เพื่อทำให้เชื่อ (publicity)
.
7.1 โฆษณา (advertising)
7.2 ประชาสัมพันธ์ (public relations)
7.3 โฆษณาชวนเชื่อ (propaganda)
.
8. เพื่อระดมพลัง (ให้ช่วย) (mobilize) เช่น ช่วยบริจาคเงิน ช่วยออกแรง ช่วยเป็นจิตอาสา

9. เพื่อปลุกพลังด้านดี (inspire) เช่น กระตุ้นให้เกิดพลังใจ
.
10. เพื่อปลุกระดม (ให้ต่อต้าน) (incitement) เช่น ปลุกเร้าให้ลุกขึ้นมาต่อต้านสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

..........

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตสำนึก (Consciousness) การสร้างจิตสำนึก และการปลูกฝังจิตสำนึก

ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตสำนึก (Consciousness) การสร้างจิตสำนึก และการปลูกฝังจิตสำนึก ........................................................................................................................................ จิตสำนึกคืออะไร? สร้างอย่างไร? ปลูกฝังอย่างไร? ความหมายของจิตสำนึก จิตสำนึก (Consciousness) หมายถึง ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกตระหนัก และการให้ความสำคัญ ต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกิดขึ้นในระบบความคิดและจิตใจของมนุษย์ ลักษณะของจิตสำนึก จิตสำนึกเป็นสภาวะที่ผสมผสานกันระหว่าง ความรู้ความเข้าใจ ความคิด และความรู้สึก การเกิดจิตสำนึก จิตสำนึก (Consciousness) เกิดจากการรับรู้ การเรียนรู้ การประเมินค่า จากสิ่งเร้าต่าง ๆ ประสบการณ์ จนเกิดเป็นความตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องนั้น สิ่งเร้าที่มนุษย์รับรู้ เรียนรู้ จนพัฒนามาเป็นจิตสำนึก ประกอบด้วยข้อมูลข่าวสาร ประสบการณ์ อารมณ์ สภาพสังคม และวัฒนธรรม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดจิตสำนึก 1. การรับรู้ 2. ทัศนคติ 3. ประสบการณ์ 4. ระยะเวลาในการรับรู้ ความถี่ ความต่อเนื่อง ผลของ

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐฐ์วัฒน์  สุทธิโยธิน 9 มิถุนายน 2559             การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย เป็นขั้นตอนที่สำคัญของการสร้างเครื่องมือวิจัยให้มีคุณภาพ สามารถนำไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อวัดตัวแปรได้ถูกต้อง แม่นยำ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ มีความเชื่อถือได้ ซึ่งผู้วิจัยควรดำเนินการตามลำดับขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. การตรวจสอบเครื่องมือวิจัยเบื้องต้น             การตรวจเครื่องมือวิจัย สอบเบื้องต้น มีสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัยต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี้             1.1 การตรวจสอบเชิงโครงสร้างของเครื่องมือวิจัย ผู้วิจัยต้องตรวจสอบว่า เครื่องมือวิจัยที่ตนเองสร้างขึ้นมานั้น มีความครอบคลุม มีความครบถ้วน ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยทุกข้อหรือไม่ ถ้ายังไม่ครบต้องดำเนินการสร้างเครื่องมือวัดให้ครบ             1.2 การตรวจสอบเชิงแนวคิด ผู้วิจัยต้องตรวจสอบเครื่องมือวิจัยโดยนำ “กรอบแนวคิดการวิจัย” (conceptual framework) มาใช้เป็นหลักในการตรวจสอบเทียบเคียงกับเครื่องมือวิจัยที่สร้างขึ้นว่า มีการ “วัดตัวแปร” หรือมีการ “เขียนข้อคำถาม” ครบถ้วนทุกตัวแปร ทุกประเด็น

นวัตกรรม ตอนที่ 4 กระบวนการสร้างนวัตกรรม

บทนำ การสร้างนวัตกรรมมีลักษณะเป็นกระบวนการ กระบวนการสร้างนวัตกรรมเป็นการสร้างการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการหลัก 4 กระบวนการ คือ           1. กระบวนการสร้างความคิด (Idea generation)           2. กระบวนการสร้างโอกาส (Opportunity recognition)           3. กระบวนการพัฒนา (Development)           4. กระบวนการทำให้เป็นจริง (Realization)             การสร้างนวัตกรรมเป็นเรื่องที่องค์กรจะต้องมีวิสัยทัศน์ มีเป้าหมาย และมีกลยุทธ์ในการดำเนินการ การสร้างนวัตกรรมมีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดการสร้างนวัตกรรมใหม่ขึ้นมา ในการนำเสนอเนื้อหาตอนนี้ที่ว่าด้วยกระบวนการสร้างนวัตกรรม จะได้กล่าวถึงเป้าหมายของการสร้างนวัตกรรม การเปลี่ยนแปลงกับการสร้างนวัตกรรม และกระบวนการสร้างนวัตกรรม เป้าหมายของการสร้างนวัตกรรม การสร้างนวัตกรรมมีเป้าหมาย 10 ประการคือ (O’Sullivan and Dooley, 2009 pp.58-59) 1. การปรับปรุงคุณภาพ (Improve quality) เป็นการปรับปรุงคุณภาพของสินค้า หรือบริการ หรือกระบวนการในการให้บริการหรือกระบวนการในการทำงานขององค์กรให้ดียิ่งขึ้น 2. การสร้างสรรค