ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

Soft Power EP.1

Soft Power EP.1
โพสต์ล่าสุด

วิจารณ์ภาพยนตร์เชิงสัญญะ เรื่อง Where We Belong ที่ตรงนั้นมีฉันหรือเปล่า

วิจารณ์ภาพยนตร์เชิงสัญญะ เรื่อง Where We Belong ที่ตรงนั้นมีฉันหรือเปล่า นำแสดงโดย เจนนิษฐ์  โอ่ประเสริฐ (เจนนิษฐ์ BNK48)  และ แพรวา  สุธรรมพงษ์ (มิวสิค BNK48) ได้รับรางวัล 1. ภาพยนตร์ยอดเยี่ยม : ชมรมวิจารณ์บันเทิง, สมาคมผู้กำกับภาพยนตร์, คมชัดลึก อวอร์ด, สตาร์พิคส์ ฟิล์ม อวอร์ด 2. บทภาพยนตร์ยอดเยี่ยม : ชมรมวิจารณ์บันเทิง, คมชัดลึก อวอร์ด, สตาร์พิคส์ ฟิล์ม อวอร์ด   3. ผู้กำกับภาพยนตร์ยอดเยี่ยม : ชมรมวิจารณ์บันเทิง,  4. ลำดับภาพยอดเยี่ยม : ชมรมวิจารณ์บันเทิง,  5. นักแสดงนำหญิงยอดเยี่ยม (เจนนิษฐ์  โอ่ประเสริฐ : เจนนิษฐ์) Rising Star in Marie Claire Asia Star Awards เทศกาลหนังปูซานอินเทอร์เนชันแนลเฟสติวัล 2019, ชมรมวิจารณ์บันเทิง  6. นักแสดงสมทบหญิงยอดเยี่ยม (แพรวา  สุธรรมพงษ์ : มิวสิค) ชมรมวิจารณ์บันเทิง สตาร์พิคส์ ฟิล์ม อวอร์ด เกริ่นนำ สิ่งที่ภาพยนตร์อยากจะพูดกับผู้ชมภาพยนตร์ เป็นงานของผู้เขียนบทภาพยนตร์และผู้กำกับภาพยนตร์ แต่สิ่งที่บทวิจารณ์ภาพยนตร์นี้จะเขียน เป็นเรื่อง (1) ประเด็น (2) การสื่อความหมาย และ (3) อารมณ์ความรู้สึก" ที่ได้รับจากภาพยนตร์ซึ่งอาจมีส่วนที่เหมือนและส่วนที่แต

การสร้างความมีชื่อเสียง (Celebrity Creating) กระบวนการและกลยุทธ์

การสร้างความมีชื่อเสียง (Celebrity Creating) การสร้างความมีชื่อเสียง: กระบวนการ และกลยุทธ์ การสร้างผู้มีชื่อเสียง การสร้างคนดัง การสร้างศิลปิน การสร้างดารา การสร้างนักแสดง การสร้างนักร้อง นักดนตรี นักศิลปะบันเทิง นักวิชาการ นักบริการ ผู้นำองค์กร ผู้นำสถาบัน ผู้นำในสถานการณ์ต่าง ๆ มีหลักการ มีกระบวนการสื่อสาร และกลยุทธ์การสื่อสาร ดังภาพที่ปรากฏตามไฟล์แนบนี้ .................................... เขียนและออกแบบโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐฐ์วัฒน์  สุทธิโยธิน ท่านสามารถคลิกเพื่ออ่านสาระสำคัญได้ทันทีที่ลิ้งก์นี้ (Master) >>> https://drive.google.com/drive/u/8/folders/1LT7OexKpW18CGowUs6GR5euGhZ-Weu5l หมายเหตุ ผู้เขียนขอแนะนำให้ใช้ข้อมูลในไฟล์ชื่อ "กระบวนการสร้างความมีชื่อเสียง master3" ซึ่งเป็นไฟล์ที่มีการตรวจแก้ไขคำผิดให้เรียบร้อยสมบูรณ์แล้ว

ดิ้น วาทกรรมเพื่อการต่อสู้บนโลกโซเชียลมีเดีย

ดิ้น..วาทกรรมเพื่อการต่อสู้บนโลกโซเชียลมีเดีย ................. "ดิ้น" เป็นอีกคำหนึ่งที่นิยมนำมาใช้ในการโต้ตอบกันบนโลกโซเชียล เวลาที่มีประเด็นปัญหาถกเเถียง หรือเกิดกระแสดราม่า เกิดขึ้นบนโลกออนไลน์ บุคคลที่ไม่เห็นด้วย หรือไม่พอใจ จะออกมาแสดงความคิดเห็นโต้แย้ง และตอบโต้ ฝ่ายที่เห็นด้วยกับประเด็น จะใช้คำว่า "ดิ้น" มากล่าวเชิงเย้ยหยัน ฝ่ายที่ไม่เห็นด้วยและออกมาโต้แย้ง ดูเหมือนว่า ฝ่ายที่เห็นด้วยกับประเด็น จะมีความมั่นใจเต็มที่ว่า ความคิดของผู้ตั้งประเด็นนั้นถูกต้อง และมั่นใจเต็มที่ว่า ความคิดเห็นของตนเองถูกต้อง จึงรู้สึกมั่นใจ รู้สึกว่าตนเองมีความชอบธรรมที่จะกล่าวหาว่า อีกฝ่ายกำลัง "ดิ้น" จนลืมไปว่า บางประเด็นตนเองก็กำลัง "ดิ้น" อยู่เช่นกัน วิธีการโต้ตอบกันของทั้งฝ่ายผู้ที่เห็นด้วย (pro) และฝ่ายที่ไม่เห็นด้วย (con) มี 8 วิธีคือ 1. อ้างเหตุผลทางวิทยาศาสตร์ ด้วยข้อมูลเชิงประจักษ์ (Empirical evidence) 2. อ้างเหตุผลตามความคิดเชิงเหตุผล (Rational) 3. อ้างเสียงส่วนใหญ่ (Majority) 4. อ้างจารีตประเพณี (Traditional) 5. อ้างศีลธรรม (Moral) 6. อ้า

คำถามวิจัย และ วิธีการเขียนคำถามวิจัย

คำถามวิจัย บทนำ การทำวิจัยโดยเฉพาะการทำวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) นักวิจัยต้องเริ่มจากการเขียน คำถามวิจัย ไม่ใช่เขียน วัตถุประสงค์ของการวิจัย และไม่ใช่่การเขียนสมมุติฐานของการวิจัย (Hypothesis) ในขณะที่ วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives) หมายถึง เป้าหมายที่เฉพาะเจาะจงในการทำวิจัย และ สมมุติฐานของการวิจัย (Hypothesis) หมายถึง การคาดเดาคำตอบ การคาดหมายคำตอบที่จะเกิดขึ้น และการทดสอบทางสถิติเพื่อยืนยันคำตอบ หรือยีนยันสมมุติฐานที่ตั้งไว้ แต่คำถามวิจัยไม่ได้หมายถึงแบบนั้น ความหมายของคำถามวิจัย คำถามวิจัย (Research Questions) หมายถึง การตั้งคำถามในเรื่องเกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัย ว่าในปัญหาวิจัยดังกล่าว มีคำถามที่นักวิจัยสงสัยอยากได้คำตอบอะไรบ้าง คำถามวิจัยเป็นคำถามที่มีฐานคิดมาจากความรู้ทั่วไป ความรู้ทางทางทฤษฎี และรายงานผลการวิจัยที่มีมาก่อนหน้านั้น รวมทั้งคำถามที่มาจากประสบการณ์ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง คำถามวิจัยมิใช่การตั้งคำถามคาดเดาอย่างเลื่อนลอยสะเปะสะปะ คำถามวิจัย (Research Questions) แบ่งออกเป็นสองส่วนสำคัญคือ 1. คำถามวิจัยหลัก (Central Question) 2. คำ

วิธีการได้มาซึ่งอำนาจ ทรัพย์สมบัติ ความมั่งคั่ง และความสุข

วิธีการได้มาซึ่งอำนาจ ทรัพย์สมบัติ ความมั่งคั่ง และความสุข ............... ยุคโบราณ . 1. ฆ่าศัตรู (หากชัดเจนว่าเป็นศัตรู จำต้องฆ่าทิ้ง) . 2. กำจัดคู่แข่ง (คู่แข่งมีอยู่ในฝ่ายเดียวกันด้วย แม้เป็นฝ่ายเดียวกัน แม้เป็นพี่น้อง แม้เป็นเครือญาต แม้เป็นบิดาผู้ให้กำเนิด ก็ต้องกำจัด) . 3. สร้างขุมกำลังนักรบทหารฝ่ายตนเองที่เหนือกว่า 2-3 เท่า . 4. สร้างอาวุธของตนเองที่เหนือว่าฝ่ายศัตรูหรือคู่แข่ง 2-3 เท่า . 5. จิตใจที่แข็งแกร่ง กล้าหาญ . 6. จิตใจที่โหดเหี้ยม กล้าลงมือ . ยุคปัจจุบัน . 1. สร้างมิตร พันธมิตรคือความเข้มแข็ง . 2. ดึงศัตรูมาเป็นมิตร หรืออย่างน้อยไม่สร้างศัตรู . 3. สร้าง "ความรู้" ของตนเอง มีแนวคิดว่าความรู้ คือ competitive advantage ขุมกำลังของตนเองที่เหนือกว่าคู่แข่งขัน 2-3 เท่า . 4. สร้าง "เทคโนโลยีและนวัตกรรม" ของตนเอง มีแนวคิดว่าเทคโนโลยีและนวัตกรรม คือ competitive advantage สร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรมของตนเองที่เหนือกว่าคู่แข่งขัน 2-3 เท่า . 5. จิตใจที่กล้าหาญ