ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก มีนาคม, 2017

โมเดลการสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ทางธุรกิจในยุคดิจิทัล

บทความนี้มุ่งนำเสนอ "แนวคิด" และ "โมเดล" การสื่อสารเพื่อการเรียนรู้ทางธุรกิจในยุคดิจิทัล การทำธุรกิจในยุคดิจิทัล ผู้ทำธุรกิจต้องมีการเรียนรู้อยู่ตลอดเวลา สิ่งที่เรียนรู้ ประกอบด้วย 1. การแสวงหาไอเดียใหม่ แนวคิดใหม่ แนวทางใหม่ นวัตกรรมใหม่ ในการทำธุรกิจ 2. การศึกษาทำความเข้าใจผู้บริโภค ลูกค้า และผู้รับบริการ ในเชิงลึก (insight) เพื่อศึกษาถึงปัญหาหนักใจ ความทุกข์ ความวิตกกังวล ความห่วงใย ความหวัง ความต้องการ เพื่อให้สามารถค้นพบ "ความปรารถนาที่แท้จริง" (Desirability) ของผู้บริโภค ลูกค้า และผู้รับบริการ และต้องประเมินด้วยว่า ความปรารถนาที่แท้จริง ดังกล่าวต้องมีขนาดที่ใหญ่มากพอต่อความคุ้มค่าในการสร้างธุรกิจขึ้นมาตอบสนอง 3. ระบบการบริหารจัดการทางธุรกิจ 4. ระบบการสื่อสารเพื่อขับเคลื่อนธุรกิจ 5. ระบบการสื่อสารเพื่อสร้างรายได้ให้แก่ธุรกิจ 6. การประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางการตลาด ทฤษฎีการบริหารธุรกิจ มาใช้ในการดำเนินธุรกิจ 7. การสร้างองค์ความรู้จากประสบการณ์การปฏิบัติทางธุรกิจ ปัญหา อุปสรรค ทางแก้ไข บทเรียนที่ได้รับ 8. การสังเคราะห์ความรู้ใหม่ เพื่อแสวงหา &q

นวัตกรรม ตอนที่ 2 การสร้างนวัตกรรม

ปัจจัยที่กระตุ้นให้เกิดการสร้างนวัตกรรม ปัจจัยที่ทำให้องค์กรเกิดการสร้างนวัตกรรมมีหลายปัจจัย ปัจจัยที่เป็นแรงกระตุ้นและก่อให้เกิดความต้องการให้องค์กรต้องมีการเรียนรู้และมีการสร้างนวัตกรรมอย่างต่อเนื่องมีหลายปัจจัย ปัจจัยเหล่านี้ได้เป็นแรงขับให้องค์กรสร้างกระบวนการเรียนรู้และสร้างนวัตกรรมดำเนินต่อไปอย่างต่อเนื่อง รวมทั้งเป็นแรงขับและท้าทายให้องค์กรสร้างความคิดใหม่  (new idea) สร้างเป้าหมายใหม่ (new goals) ขององค์กรขึ้นมา ส่วนใหญ่แล้วการสร้างความคิดใหม่และการสร้างนวัตกรรมใหม่ มักจะมุ่งตอบสนองเป้าหมายในการสร้างความเติบโต ในการแข่งขันทางธุรกิจ เพื่อความอยู่รอดทางธุรกิจ ปัจจัยที่เป็นแรงขับให้เกิดการสร้างนวัตกรรมแบ่งออกเป็น 3 ปัจจัยหลัก ได้แก่ (O’Sullivan and Dooley, 2009 pp.12-14)           1. การอุบัติขึ้นของเทคโนโลยี (Emerging technologies)           2. ความเคลื่อนไหวของคู่แข่งขัน (Competitor actions)           3. ความคิดใหม่ที่ได้จากลูกค้า หุ้นส่วนเชิงกลยุทธ์ และพนักงาน (New ideas from Strategic partners, and Employees)           4. การอุบัติขึ้นของการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแว

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ เ ครื่องมือวิจัยเชิงคุณภาพที่สร้างขึ้นมา ไม่ว่าจะเป็นแบบสัมภาษณ์ แบบสังเกต แบบวิเคราะห์เนื้อหา แบบวิเคราะห์เหตุการณ์ แบบวิเคราะห์ความหมาย แบบวิเคราะห์ความหมายของวัตถุ จำเป็นต้องมีการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวิจัย ซึ่งมีหลักและวิธีการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัยเชิงคุณภาพดังนี้ รศ.ดร.ณัฐฐ์วัฒน์  สุทธิโยธิน กดดูเนื้อหาได้ที่ลิ้งก์นี้ >> https://drive.google.com/drive/u/0/folders/0B7Sxw15XnuI9blFRNXlrZUtGeGM