ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

บทความ

กำลังแสดงโพสต์จาก 2019

การสร้างความมีชื่อเสียง (Celebrity Creating) กระบวนการและกลยุทธ์

การสร้างความมีชื่อเสียง (Celebrity Creating) การสร้างความมีชื่อเสียง: กระบวนการ และกลยุทธ์ การสร้างผู้มีชื่อเสียง การสร้างคนดัง การสร้างศิลปิน การสร้างดารา การสร้างนักแสดง การสร้างนักร้อง นักดนตรี นักศิลปะบันเทิง นักวิชาการ นักบริการ ผู้นำองค์กร ผู้นำสถาบัน ผู้นำในสถานการณ์ต่าง ๆ มีหลักการ มีกระบวนการสื่อสาร และกลยุทธ์การสื่อสาร ดังภาพที่ปรากฏตามไฟล์แนบนี้ .................................... เขียนและออกแบบโดย รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐฐ์วัฒน์  สุทธิโยธิน ท่านสามารถคลิกเพื่ออ่านสาระสำคัญได้ทันทีที่ลิ้งก์นี้ (Master) >>> https://drive.google.com/drive/u/8/folders/1LT7OexKpW18CGowUs6GR5euGhZ-Weu5l หมายเหตุ ผู้เขียนขอแนะนำให้ใช้ข้อมูลในไฟล์ชื่อ "กระบวนการสร้างความมีชื่อเสียง master3" ซึ่งเป็นไฟล์ที่มีการตรวจแก้ไขคำผิดให้เรียบร้อยสมบูรณ์แล้ว

ดิ้น วาทกรรมเพื่อการต่อสู้บนโลกโซเชียลมีเดีย

ดิ้น..วาทกรรมเพื่อการต่อสู้บนโลกโซเชียลมีเดีย ................. "ดิ้น" เป็นอีกคำหนึ่งที่นิยมนำมาใช้ในการโต้ตอบกันบนโลกโซเชียล เวลาที่มีประเด็นปัญหาถกเเถียง หรือเกิด...

คำถามวิจัย และ วิธีการเขียนคำถามวิจัย

คำถามวิจัย บทนำ การทำวิจัยโดยเฉพาะการทำวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) นักวิจัยต้องเริ่มจากการเขียน คำถามวิจัย ไม่ใช่เขียน วัตถุประสงค์ของการวิจัย และไม่ใช่่การเขียนสมมุติฐานของการวิจัย (Hypothesis) ในขณะที่ วัตถุประสงค์ของการวิจัย (Research Objectives) หมายถึง เป้าหมายที่เฉพาะเจาะจงในการทำวิจัย และ สมมุติฐานของการวิจัย (Hypothesis) หมายถึง การคาดเดาคำตอบ การคาดหมายคำตอบที่จะเกิดขึ้น และการทดสอบทางสถิติเพื่อยืนยันคำตอบ หรือยีนยันสมมุติฐานที่ตั้งไว้ แต่คำถามวิจัยไม่ได้หมายถึงแบบนั้น ความหมายของคำถามวิจัย คำถามวิจัย (Research Questions) หมายถึง การตั้งคำถามในเรื่องเกี่ยวข้องกับปัญหาวิจัย ว่าในปัญหาวิจัยดังกล่าว มีคำถามที่นักวิจัยสงสัยอยากได้คำตอบอะไรบ้าง คำถามวิจัยเป็นคำถามที่มีฐานคิดมาจากความรู้ทั่วไป ความรู้ทางทางทฤษฎี และรายงานผลการวิจัยที่มีมาก่อนหน้านั้น รวมทั้งคำถามที่มาจากประสบการณ์ในเรื่องที่เกี่ยวข้อง คำถามวิจัยมิใช่การตั้งคำถามคาดเดาอย่างเลื่อนลอยสะเปะสะปะ คำถามวิจัย (Research Questions) แบ่งออกเป็นสองส่วนสำคัญคือ 1. คำถามวิจัยหลัก (Central Question) 2. คำ...

วิธีการได้มาซึ่งอำนาจ ทรัพย์สมบัติ ความมั่งคั่ง และความสุข

วิธีการได้มาซึ่งอำนาจ ทรัพย์สมบัติ ความมั่งคั่ง และความสุข ............... ยุคโบราณ . 1. ฆ่าศัตรู (หากชัดเจนว่าเป็นศัตรู จำต้องฆ่าทิ้ง) . 2. กำจัดคู่แข่ง (คู่แข่งมีอยู่ในฝ่ายเดียวกันด้วย แม้เป็นฝ่ายเดียวกัน แม้เป็นพี่น้อง แม้เป็นเครือญาต แม้เป็นบิดาผู้ให้กำเนิด ก็ต้องกำจัด) . 3. สร้างขุมกำลังนักรบทหารฝ่ายตนเองที่เหนือกว่า 2-3 เท่า . 4. สร้างอาวุธของตนเองที่เหนือว่าฝ่ายศัตรูหรือคู่แข่ง 2-3 เท่า . 5. จิตใจที่แข็งแกร่ง กล้าหาญ . 6. จิตใจที่โหดเหี้ยม กล้าลงมือ . ยุคปัจจุบัน . 1. สร้างมิตร พันธมิตรคือความเข้มแข็ง . 2. ดึงศัตรูมาเป็นมิตร หรืออย่างน้อยไม่สร้างศัตรู . 3. สร้าง "ความรู้" ของตนเอง มีแนวคิดว่าความรู้ คือ competitive advantage ขุมกำลังของตนเองที่เหนือกว่าคู่แข่งขัน 2-3 เท่า . 4. สร้าง "เทคโนโลยีและนวัตกรรม" ของตนเอง มีแนวคิดว่าเทคโนโลยีและนวัตกรรม คือ competitive advantage สร้างเทคโนโลยีและนวัตกรรมของตนเองที่เหนือกว่าคู่แข่งขัน 2-3 เท่า . 5. จิตใจที่กล้าหาญ...

โทนของสารในการสื่อสารทางสื่อโซเชียลมีเดีย (Social Media Tone of Message)

โทนของสารในการสื่อสารทางสื่อโซเชียลมีเดีย Social Media โทนของสาร (Tone of message) ที่ใช้ในการสื่อสารทางโซเชียลมีเดีย แบ่งออกเป็น 10 ประเภท ทางบวก 10 ประเภท ทางลบ 10 ประเภท ..... ทางบวก . 1. ความรัก (love) 2. ความเป็นมิตร มิตรภาพ (companionship) 3. ความกล้าหาญ (courage) 4. ความสงสาร (sympathy) 5. ความเมตตากรุณา (compassion) 6. ความมีจิตใจดีงาม (kindness) 7. ความปรารถนาดี (good wishes) 8. การให้กำลังใจ (moral support) 9. การยกย่อง (admire) 10. การให้เกียรติ (respect) ..... ทางลบ . 1. ความเกลียด (hate) 2.ความเป็นศัตรู (Hostility) 3. ความกลัว (fear) 4. ความใจดำ (heartless) 5. ความโหดร้ายทารุณ (cruelty) 6. ความโหดเหี้ยม (ruhlessness) 7. ความอาฆาตพยาบาท (malice) 8. การบั่นทอนจิตใจ (devastate) 9. การเย้ยหยัน (ridicule) 10. การดูถูก (insult)

เป้าหมายของการสื่อสารทางสื่อ (Social Media Usage Purposes)

เป้าหมายของการสื่อสารทางสื่อ (Social Media Usage Purposes) ..................................... เป้าหมายของการสื่อสาร (communication purposes) การใช้สื่อและสารในการสื่อสารทางโซเชียลมีเดีย แบ่งออกเป็น 10 ประเภท ..... 1. เพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสารทั่วไป (genreral inform) เช่น บ่ายนี้ฝนจะตกเป็นบริเวณกว้างของประเทศไทย . 2. เพื่อแจ้งข้อมูลข่าวสารตักเตือนภัย (surveilance) เช่น พายุขนาใดหญ่จะเข้าพรุ่งนี้ น้ำอาจท่วมฉับพลันขอให้เตรียมรับมือ . 3. เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น เพื่อถกเถียงอภิปราย เพื่อรวบรวมความคิดเห็น เพื่อประมวลความคิดเห็น เพื่อหามติสาธารณะ (correlation) . 4. เพื่อบอกเล่าเรื่องราวในชีวิตตนเอง (life story telling) เกี่ยวกับ . 4.1 งาน (works) เช่น ทำคดี ว่าความ ทำข่าว ขายสินค้าออนไลน์ สักคิ้ว . 4.2 กิจกรรม (activities) เช่น ทำกับข้าว ตัดหญ้า ออกกำลังกาย ไปฟิตเนส ให้อาหารแมว อาบน้ำสุนัข เล่นกับแมว เลี้ยงกระต่าย เลี้ยงควาย เลี้ยงวัว . 4.3 กินและดื่ม (meals, food, drink) รายการอาหารมื้อเช้า กลางวัน เย็น ค่ำ ดึกที่ตนเองก...

การเล่นประเด็นสารในสื่อโซเชียลมีเดีย

ประเด็นความขัดแย้งที่ทำงานได้ผลที่สุด ที่ถูกนำมาสร้างเป็น message ในการสื่อสารมวลชน และการสื่อสารทาง Social Media มิใช่ความขัดแย้งทางกายภาพ แต่เป็นความขัดแย้งทางจิตใ...

สูตรการสื่อสารเพื่อสร้างชื่อเสียง

สูตรการสื่อสารเพื่อสร้างชื่อเสียง ในสถานการณ์ความขัดแย้งทางสังคม .... 1. สร้างช่องทางการสื่อสารของตนเอง 2. สร้างฐานความสัมพันธ์กับสื่อมวลชน 3. ฝึกฝนทักษะเบื้...

ความคาดหวังและการรอคอย

ความคาดหวังและการรอคอย ............................................ กรณีที่เป็นบุคคลที่มิได้มีความเกี่ยวข้องใกล้ชิด สนิทสนมกันมาก ๆ ไม่ได้มีความรัก ความผูกพัน ความห่วงใย เฉกเช่น คนรัก คนในค...

โฆษกทางการเมืองยุคใหม่

โฆษกทางการเมืองยุคใหม่ .................................. มันอาจหมดยุคที่โฆษกทางการเมืองจะต้อง "ห้าวเป้ง" เป็นหลักแล้ว มันอาจพัฒนามาถึงยุคที่ต้องใช้คุณสมบัติ "หญิงแกร่ง ชายเก่ง" ดูดี...

การสื่อสารประชาสัมพันธ์ของรัฐบาล รัฐบาลอ่อนประชาสัมพันธ์จริงหรือ?

การสื่อสารประชาสัมพันธ์ของรัฐบาล รัฐบาลอ่อนประชาสัมพันธ์จริงหรือ? ............... คำพูดที่คุ้นเคย คำกล่าวที่คุ้นหู ในเวลาที่ ผู้คนไม่ค่อยจะพึงพอใจ ในการดำเนินงานข...