ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

กระบวนการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมการสื่อสาร Research and Development R&D

กระบวนการวิจัยและพัฒนา

ประกอบด้วยกระบวนการใหญ่ 4 กระบวนการ ดังนี้การตั้งสมมุติฐาน และการค้นหาความจริง (Explore, Hypothesize, and Clarify)เป็นการศึกษาข้อมูลเบื้องต้นเพื่อศึกษาลักษณะ องค์ประกอบ หน้าที่ ความสัมพันธ์ ความเชื่อมโยงระหว่างปัญหาและสาเหตุของปัญหาโดยการวิจัยเชิงสำรวจเพื่อรวบรวมข้อมูลที่เกี่ยวข้องจากนั้นนำข้อมูลมาตั้งประเด็นปัญหาที่จะศึกษา กำหนดปัญหาวิจัย ตั้งคำถามวิจัยตั้งสมมุติฐาน เพื่อกำหนดทิศทางของการศึกษาการดำเนินการสำรวจรวบรวมข้อมูลให้ได้ความจริงที่กระจ่างชัดเพื่อนำความจริงนั้นไปใช้ในการดำเนินงานขั้นต่อไปการพัฒนา และการทดสอบ (Design, Develop, and Test) เป็นการสร้างสรรค์ใหม่ ออกแบบใหม่ เพื่อค้นหาสิ่งที่จะใช้ในการแก้ปัญหา ตอบปัญหาวิจัย ตอบคำถามวิจัย สร้างและพัฒนาสิ่งที่เป็นชิ้นงานต้นแบบ ตอบปัญหาวิจัย ตอบคำถามวิจัย สร้างและพัฒนาสิ่งที่เป็นชิ้นงานต้นแบบ ตอบปัญหาวิจัย ตอบคำถามวิจัย สร้างและพัฒนาสิ่งที่เป็นชิ้นงานต้นแบบ (prototype)นำชิ้นงานต้นแบบไปทดสอบประสิทธิภาพ ทดสอบการใช้งานกับสถานการณ์จำลอง เพื่อประเมิน ค้นหาปัญหา ค้นหาข้อบกพร่อง ทำการสังเกตเก็บข้อมูล ประมวลผลข้อมูล นำข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการปรับปรุงประสิทธิภาพปรับปรุงแก้ไขชิ้นงานต้นแบบให้ดีขึ้น มีประสิทธิภาพสูงขึ้น มีความแม่นยำมากขึ้นมีความเที่ยงตรงมากขึ้น มีความเชื่อถือได้มากขึ้น แก้ปัญหาได้จริงตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานได้ แล้วนำชิ้นงานต้นแบบไปสร้างและผลิตเป็นผลิตภัณฑ์บริการ กระบวนการ ในจำนวนมากตามที่ต้องการ ซึ่งมีคุณภาพและมาตรฐานเดียวกันเพื่อนำไปเผยแพร่ให้ผู้ใช้งานได้ใช้งานจริง ในสถานการณ์จริงการศึกษา การทดสอบประสิทธิภาพ และการปรับปรุง (Implement, Study, Efficacy,and Improve)เป็นการนำผลิตภัณฑ์ (products) บริการ (services) และกระบวนการ (processes)ไปเผยแพร่ให้ผู้ใช้งานได้ใช้งานจริงในสถานการณ์จริง (Implement) โดยทำการศึกษา (Stud) ติดตามและประเมินผลจากผู้ใช้งาน มีการพัฒนาสร้างความมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาสร้างความมีประสิทธิภาพ มีการพัฒนาสร้างความมีประสิทธิภาพ (Efficacy) ให้สูงขึ้น มีการปรับปรุง (Improve) ให้ดีขึ้น (Synthesize and Theorize)เป็นตั้งคำถามต่อประเด็นปัญหาใดปัญหาหนึ่ง เรียกว่าคำถามวิจัยนำประเด็นปัญหานั้นไปศึกษาในทางทฤษฎี สังเคราะห์ปัญหาออกมาในแง่มุมทางทฤษฎีเพื่อที่จะใช้เป็นกรอบในการอธิบายปัญหาและตอบคำถามวิจัยนำทฤษฎีมาใช้ในการสร้างกรอบทฤษฎีที่นำไปสู่การดำเนินการวิจัยโดยการทำให้สิ่งที่ศึกษาสามารถดำเนินการศึกษาได้ (operationalization) โดยการนิยามศัพท์เชิงปฏิบัติการ การออกแบบการวัดตัวแปร
4 ขั้นตอน ได้แก่
การสร้างความคิด (Idea Creation) ทำการศึกษาวิเคราะห์และสังเคราะห์สถานการณ์ (situationanalysis) สภาพปัญหาและความต้องการของมนุษย์ องค์กร ชุมชน สาธารณชน และสังคม ซึ่งอาจใช้การวิจัยเบื้องต้น เช่น วิจัยเชิงสำรวจเพื่อทราบข้อมูลที่จะนำมาใช้ในการสร้างแนวคิดในการวิจัยและพัฒนาต่อไป แล้วนำผลการศึกษาสำรวจมาใช้ในการสร้างความคิดในการปรับปรุง พัฒนา สร้างสรรค์ใหม่
และสังคม ซึ่งอาจใช้การวิจัยเบื้องต้น เช่นวิจัยเชิงสำรวจเพื่อทราบข้อมูลที่จะนำมาใช้ในการสร้างแนวคิดในการวิจัยและพัฒนาต่อไปแล้วนำผลการศึกษาสำรวจมาใช้ในการสร้างความคิดในการปรับปรุง พัฒนา สร้างสรรค์ใหม่ และสังคม ซึ่งอาจใช้การวิจัยเบื้องต้น เช่นวิจัยเชิงสำรวจเพื่อทราบข้อมูลที่จะนำมาใช้ในการสร้างแนวคิดในการวิจัยและพัฒนาต่อไปแล้วนำผลการศึกษาสำรวจมาใช้ในการสร้างความคิดในการปรับปรุง พัฒนา สร้างสรรค์ใหม่ (Initial Experimentation) เป็นการออกแบบ สร้าง และพัฒนาชิ้นงาน “ต้นแบบ” ขึ้นมา เพื่อวิเคราะห์และประเมินประสิทธิภาพการทำงานและการใช้งาน โดยทีมงานและผู้เชี่ยวชาญและพัฒนาชิ้นงาน “ต้นแบบ” ขึ้นมา เพื่อวิเคราะห์และประเมินประสิทธิภาพการทำงานและการใช้งานโดยทีมงานและผู้เชี่ยวชาญและพัฒนาชิ้นงาน “ต้นแบบ” ขึ้นมา เพื่อวิเคราะห์และประเมินประสิทธิภาพการทำงานและการใช้งานโดยทีมงานและผู้เชี่ยวชาญ(Feasibility Determination)เป็นการนำชิ้นงานต้นแบบไปทดลองใช้งานกับกลุ่มตัวอย่างอาจเป็นกลุ่มตัวอย่างขนาดเล็ก หรือกลุ่มตัวอย่างขนาดใหญ่ทำการวิจัยเก็บข้อมูลโดยการสังเกต เก็บข้อมูลเชิงปริมาณหรือเชิงคุณภาพหรือใช้แบบผสมวิธีทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ เพื่อศึกษาถึงประสิทธิภาพการใช้งานความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการตอบสนองความต้องการของผู้ใช้งานการประเมินจุดดี จุดด้อย และจุดที่ต้องแก้ไขปรับปรุงแล้วนำผลการประเมินไปแก้ไขปรับปรุงชิ้นงานต้นแบบให้สมบูรณ์ยิ่งขึ้น จึงนำไปสร้างเป็นชิ้นงานต้นแบบที่สมบูรณ์ โดยให้ผู้เชี่ยวชาญทำการประเมินและควรมีการทดสอบซ้ำ แก้ไขปรับปรุงให้สมบูรณ์ ก่อนที่จะสร้างผลิตภัณฑ์ออกมาในปริมาณมากๆ เพื่อนำไปเผยแพร่ต่อไปคือ ส่วนแรกเป็นการวิจัย และส่วนที่สองเป็นการพัฒนาเพื่อให้นักศึกษาและผู้สนใจเข้าใจกระบวนการดังกล่าวได้ดียิ่งขึ้นและสามารถนำไปปฏิบัติได้ในการศึกษาและทำการวิจัยผู้เขียนจึงขออธิบายกระบวนการวิจัยและพัฒนาโดยแบ่งออกเป็นสองส่วนดังกล่าวดังต่อไปนี้การสร้างกรอบแนวคิดการวิจัย การทบทวนวรรณกรรม การตั้งคำถามวิจัย การตั้งสมมุติฐานเพื่อนำไปสู่การทำวิจัย ต่อจากนั้นเป็นขั้นตอนการดำเนินงานวิจัยประกอบด้วยการสำรวจการสังเกต การทดลอง จนได้ผลการวิจัย ทำการสังเคราะห์ผลการวิจัยเพื่อให้ได้ชุดความรู้ใหม่การออกแบบชิ้นงาน (Design)การนำชุดความรู้ใหม่ที่ได้จากกระบวนการวิจัยไปใช้ในการออกแบบชิ้นงาน (Design) ในขั้นตอนการออกแบบชิ้นงานมีหลายขั้นตอน นับตั้งแต่การออกแบบสร้างสรรค์ (design)การปรับปรุง (improve)การแก้ไขให้ชิ้นงานต้นแบบมีความสมบูรณ์ระดับหนึ่ง นำชิ้นงานต้นแบบฉบับร่างไปทำการทดสอบ เพื่อหาความแม่นยำ ความตรง ความเที่ยงความเชื่อได้ แล้วนำผลการศึกษามาทำการปรับปรุงชิ้นงานต้นแบบฉบับร่างอีกครั้งหนึ่งบางครั้งอาจถึงกับต้องออกแบบใหม่หรือออกแบบซ้ำอีกครั้ง (Re-design) เพื่อให้ได้ชิ้นงานต้นแบบที่ดีขึ้น จนกระทั่งทีมงานวิจัยมีความพอใจ มีความเชื่อมั่นในชิ้นงานต้นแบบมีความเชื่อมั่นในชิ้นงานต้นแบบมีความเชื่อมั่นในชิ้นงานต้นแบบ(Improve) เป็นการปรับปรุงชิ้นงานต้นแบบให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีคุณภาพสูงขึ้น ตอบโจทย์การใช้งานของผู้บริโภคให้มากขึ้น
มีคุณภาพสูงขึ้น ตอบโจทย์การใช้งานของผู้บริโภคให้มากขึ้นมีคุณภาพสูงขึ้น ตอบโจทย์การใช้งานของผู้บริโภคให้มากขึ้น(Build)เป็นการลงมือสร้างชิ้นงานที่จะใช้งานจริง ในรูปแบบของนำผลงานการออกแบบนี้ไปทำการสร้าง (build) ชิ้นงานต้นแบบตัวจริง จนสำเร็จออกมา โดยมากนิยมเรียกว่า “ชิ้นงานต้นแบบ” หรือ จนสำเร็จออกมา โดยมากนิยมเรียกว่า “ชิ้นงานต้นแบบ” หรือ จนสำเร็จออกมา โดยมากนิยมเรียกว่า “ชิ้นงานต้นแบบ” หรือ Prototype ทีมงานวิจัยจะต้องนำชิ้นงานต้นแบบนั้นไปให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบ วิพากษ์ วิจารณ์วิเคราะห์ ให้ความคิดเห็น เพื่อหาสิ่งที่ต้องปรับปรุงเพิ่มเติมโดยทีมงานวิจัยต้องนำชิ้นงานต้นแบบไปทดลองใช้งาน (Trial) กับกลุ่มตัวอย่างเพื่อประเมินผล แล้วนำผลที่ได้มาปรับปรุงชิ้นงานต้นแบบให้ดียิ่งขึ้น สมบูรณ์ยิ่งขึ้น ก่อนที่จะปล่อยออกไปให้ผู้ใช้งานทดลองใช้จริง สำหรับชิ้นงานที่จะปล่อยออกไปให้ผู้ใช้งานทดลองใช้ครั้งแรกนิยมเรียกว่าชิ้นงาน “เบต้า” (Beta) หรือ ชิ้นงานต้นแบบขั้นที่หนึ่งแล้วนำผลที่ได้มาปรับปรุงชิ้นงานต้นแบบให้ดียิ่งขึ้น สมบูรณ์ยิ่งขึ้นก่อนที่จะปล่อยออกไปให้ผู้ใช้งานทดลองใช้จริงสำหรับชิ้นงานที่จะปล่อยออกไปให้ผู้ใช้งานทดลองใช้ครั้งแรกนิยมเรียกว่าชิ้นงาน“เบต้า” (Beta) หรือ ชิ้นงานต้นแบบขั้นที่หนึ่งแล้วนำผลที่ได้มาปรับปรุงชิ้นงานต้นแบบให้ดียิ่งขึ้น สมบูรณ์ยิ่งขึ้นก่อนที่จะปล่อยออกไปให้ผู้ใช้งานทดลองใช้จริงสำหรับชิ้นงานที่จะปล่อยออกไปให้ผู้ใช้งานทดลองใช้ครั้งแรกนิยมเรียกว่าชิ้นงาน“เบต้า” (Beta) หรือ ชิ้นงานต้นแบบขั้นที่หนึ่ง(Launch) เป็นการนำชิ้นงานต้นแบบไปเผยแพร่ต่อสาธารณชน ให้ผู้ใช้งาน ให้ประชาชน ได้ทดลองนำไปใช้งาน เพื่อทดสอบการใช้งาน และประเมินผลการใช้งานโดยผู้ใช้งาน ให้ผู้ใช้งาน ให้ประชาชน ได้ทดลองนำไปใช้งาน เพื่อทดสอบการใช้งานและประเมินผลการใช้งานโดยผู้ใช้งาน ให้ผู้ใช้งาน ให้ประชาชน ได้ทดลองนำไปใช้งาน เพื่อทดสอบการใช้งานและประเมินผลการใช้งานโดยผู้ใช้งาน (user) ในสถานการณ์จริง ทีมงานวิจัยจะทำการเก็บข้อมูล ติดตามผลและประเมินผล เสียงสะท้อนจากผู้ใช้งานความคิดเห็นเกี่ยวกับประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ความสามารถในการใช้งานได้จริงความสะดวก ความเชื่อถือได้ ความมั่นใจ ความปลอดภัย ความพึงพอใจเพื่อนำข้อมูลที่ได้มาใช้ในการปรับปรุงชิ้นงานให้ดียิ่งขึ้นต่อไป6 เดือน หรือ 1 ปี ก็ได้ผลผลิตของโครงการออกมาแล้ว แต่บางโครงการอาจต้องใช้เวลาหลายปีกว่าจะได้ผลผลิตออกมากระบวนการวิจัยและพัฒนาสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่หรือพัฒนานวัตกรรมใหม่
ก็ได้ผลผลิตของโครงการออกมาแล้วแต่บางโครงการอาจต้องใช้เวลาหลายปีกว่าจะได้ผลผลิตออกมากระบวนการวิจัยและพัฒนาสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่หรือพัฒนานวัตกรรมใหม่ก็ได้ผลผลิตของโครงการออกมาแล้วแต่บางโครงการอาจต้องใช้เวลาหลายปีกว่าจะได้ผลผลิตออกมากระบวนการวิจัยและพัฒนาสำหรับการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่หรือพัฒนานวัตกรรมใหม่แต่มีกระบวนการบางอย่างที่เพิ่มเติม การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมมีขั้นตอนการดำเนินงาน 6 ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ (โปรดดูภาพที่ 1)[1]ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ (โปรดดูภาพที่ 1)[1]ขั้นตอน ดังต่อไปนี้ (โปรดดูภาพที่ 1)[1]การหล่อหลอมความคิด (Foster idea) ทีมงามช่วยกันระดมความคิดถึงสถานการณ์ ปัญหาที่กำลังเผชิญ ทำความเข้าใจสาเหตุและบริบทแวดล้อมที่กำลังเผชิญหน้าอยู่ โดยมุ่งเน้นไปที่ปัญหาใดปัญหาหนึ่ง หลังจากนั้นบีบประเด็นให้แคบลงไปถึงประเด็นที่สำคัญ และเป็นแกนหลักของของโอกาสความเป็นไปได้ และทีมงานให้ความสนใจ 
ปัญหาที่กำลังเผชิญ ทำความเข้าใจสาเหตุและบริบทแวดล้อมที่กำลังเผชิญหน้าอยู่โดยมุ่งเน้นไปที่ปัญหาใดปัญหาหนึ่งหลังจากนั้นบีบประเด็นให้แคบลงไปถึงประเด็นที่สำคัญและเป็นแกนหลักของของโอกาสความเป็นไปได้ และทีมงานให้ความสนใจ  ปัญหาที่กำลังเผชิญ ทำความเข้าใจสาเหตุและบริบทแวดล้อมที่กำลังเผชิญหน้าอยู่โดยมุ่งเน้นไปที่ปัญหาใดปัญหาหนึ่งหลังจากนั้นบีบประเด็นให้แคบลงไปถึงประเด็นที่สำคัญและเป็นแกนหลักของของโอกาสความเป็นไปได้ และทีมงานให้ความสนใจ  (Focus idea)รวบรวมความคิด ค้นหาความคิดที่มีศักยภาพ ทั้งนี้อาจต้องกลับไปพิจารณาผลิตภัณฑ์เดิมที่มีอยู่เพื่อที่จะค้นหาว่ามีไอเดียอะไรที่จะพัฒนาให้ดีขึ้นได้หรือไม่ideas) เลือกความคิดที่ดีที่สุด นำมาพัฒนาต่อ ความคิดนี้อาจเชื่อมโยงเข้ากับผลการวิจัยที่มีอยู่ หรือทำการวิจัยเชิงสำรวจ เช่น วิจัยสำรวจตลาด ทำให้ความคิดนั้นแคบลงด้วยการศึกษาผลการวิจัย เลือกประเด็นที่มีความเกี่ยวข้องโดยตรง และต่อยอดความคิดไปถึงสิ่งที่มีความเป็นไปได้มากที่สุด โดยเฉพาะความเป็นไปได้ในทางการตลาด
ความคิดนี้อาจเชื่อมโยงเข้ากับผลการวิจัยที่มีอยู่ หรือทำการวิจัยเชิงสำรวจ เช่นวิจัยสำรวจตลาด ทำให้ความคิดนั้นแคบลงด้วยการศึกษาผลการวิจัยเลือกประเด็นที่มีความเกี่ยวข้องโดยตรงและต่อยอดความคิดไปถึงสิ่งที่มีความเป็นไปได้มากที่สุดโดยเฉพาะความเป็นไปได้ในทางการตลาดความคิดนี้อาจเชื่อมโยงเข้ากับผลการวิจัยที่มีอยู่ หรือทำการวิจัยเชิงสำรวจ เช่นวิจัยสำรวจตลาด ทำให้ความคิดนั้นแคบลงด้วยการศึกษาผลการวิจัยเลือกประเด็นที่มีความเกี่ยวข้องโดยตรงและต่อยอดความคิดไปถึงสิ่งที่มีความเป็นไปได้มากที่สุดโดยเฉพาะความเป็นไปได้ในทางการตลาด(Prototypes and Trails) นำความคิดที่ตัดสินใจเลือกแล้วมาสร้างเป็นชิ้นงานต้นแบบ (prototypes) ที่สามารถนำไปทดลองใช้ได้ เมื่อนำชิ้นงานต้นแบบไปทดลองใช้ เมื่อนำชิ้นงานต้นแบบไปทดลองใช้ เมื่อนำชิ้นงานต้นแบบไปทดลองใช้ (trials) ตั้งคำถามที่ยากและซับซ้อนขึ้นเกี่ยวกับชิ้นงานต้นแบบ เช่น หากนำไปให้ลูกค้าหรือประชาชนใช้งานจริงจะเกิดปัญหาอะไรบ้าง จะทำให้ผู้ใช้สนใจทดลองใช้ผลิตภัณฑ์นี้ได้อย่างไร จะทำให้ผู้ใช้ใช้งานได้ถูกต้องได้อย่างไร จะทำให้ผู้ใช้เกิดความคุ้นเคยอย่างไร จะทำให้ผู้ใช้เกิดการยอมรับอย่างไร ถ้าหากต้องการผลิตขึ้นจำนวนมากจะมีปัญหาอะไร หากมีผู้ใช้ใช้งานพร้อมกันจำนวนมากในเวลาเดียวกันจะมีปัญหาอะไรหรือไม่ จะหาทางรับมืออย่างไร จะแก้ปัญหาอย่างไร ในขั้นตอนนี้ต้องทำงาน ปรึกษาร่วมกันหลายฝ่ายทั้งฝ่ายบริหาร ฝ่าย สร้างสรรค์ฝ่ายออกแบบ ฝ่ายเทคโนโลยี ฝ่ายคอมพิวเตอร์ ฝ่ายการตลาด ฝ่ายขาย ฝ่ายบริการลูกค้า ฝ่ายขนส่ง ฝ่ายสนับสนุนการดำเนินงาน ฝ่ายเงินทุน ฝ่ายประเมินผล
เช่น หากนำไปให้ลูกค้าหรือประชาชนใช้งานจริงจะเกิดปัญหาอะไรบ้างจะทำให้ผู้ใช้สนใจทดลองใช้ผลิตภัณฑ์นี้ได้อย่างไรจะทำให้ผู้ใช้ใช้งานได้ถูกต้องได้อย่างไร จะทำให้ผู้ใช้เกิดความคุ้นเคยอย่างไรจะทำให้ผู้ใช้เกิดการยอมรับอย่างไร ถ้าหากต้องการผลิตขึ้นจำนวนมากจะมีปัญหาอะไรหากมีผู้ใช้ใช้งานพร้อมกันจำนวนมากในเวลาเดียวกันจะมีปัญหาอะไรหรือไม่จะหาทางรับมืออย่างไร จะแก้ปัญหาอย่างไร ในขั้นตอนนี้ต้องทำงานปรึกษาร่วมกันหลายฝ่ายทั้งฝ่ายบริหาร ฝ่าย สร้างสรรค์ฝ่ายออกแบบ ฝ่ายเทคโนโลยีฝ่ายคอมพิวเตอร์ ฝ่ายการตลาด ฝ่ายขาย ฝ่ายบริการลูกค้า ฝ่ายขนส่ง ฝ่ายสนับสนุนการดำเนินงานฝ่ายเงินทุน ฝ่ายประเมินผลเช่น หากนำไปให้ลูกค้าหรือประชาชนใช้งานจริงจะเกิดปัญหาอะไรบ้างจะทำให้ผู้ใช้สนใจทดลองใช้ผลิตภัณฑ์นี้ได้อย่างไรจะทำให้ผู้ใช้ใช้งานได้ถูกต้องได้อย่างไร จะทำให้ผู้ใช้เกิดความคุ้นเคยอย่างไรจะทำให้ผู้ใช้เกิดการยอมรับอย่างไร ถ้าหากต้องการผลิตขึ้นจำนวนมากจะมีปัญหาอะไรหากมีผู้ใช้ใช้งานพร้อมกันจำนวนมากในเวลาเดียวกันจะมีปัญหาอะไรหรือไม่จะหาทางรับมืออย่างไร จะแก้ปัญหาอย่างไร ในขั้นตอนนี้ต้องทำงานปรึกษาร่วมกันหลายฝ่ายทั้งฝ่ายบริหาร ฝ่าย สร้างสรรค์ฝ่ายออกแบบ ฝ่ายเทคโนโลยีฝ่ายคอมพิวเตอร์ ฝ่ายการตลาด ฝ่ายขาย ฝ่ายบริการลูกค้า ฝ่ายขนส่ง ฝ่ายสนับสนุนการดำเนินงานฝ่ายเงินทุน ฝ่ายประเมินผลการดำเนินงานด้านการตลาด และกิจกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์ (Regulatory,marketing, product development activities) เป็นการทำให้ผลิตภัณฑ์เกิดเป็นรูปร่างขึ้นมา เพื่อที่จะทำให้ผลิตภัณฑ์ที่มาจากการวิจัยกลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่ออกสู่ตลาดได้ เพื่อให้ผู้บริโภคซื้อไปใช้งานได้จริง ที่สำคัญคือ ทุกสิ่งจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ทั้งเรื่องคุณภาพ ประสิทธิภาพ การใช้งานได้ผลดี มีความทนทาน ผ่านการตรวจสอบ ยืนยันเรื่องคุณภาพและประสิทธิภาพเรียบร้อยแล้ว พร้อมที่จะนำออกสู่ตลาด หรือนำออกเผยแพร่ต่อสาธารณชนเพื่อให้นำไปใช้งานได้จริง ในขั้นตอนนี้กรณีเป็นผลิตภัณฑ์ สินค้า และบริการ ฝ่ายการตลาดจะต้องเริ่มดำเนินการพัฒนากลยุทธ์การตลาด รวมทั้งเตรียมการด้านราคา ช่องทางการจัดจำหน่าย ช่องทางการเผยแพร่ พนักงานขาย การฝึกฝนทักษะการบริการให้พร้อมทุกด้านเพื่อที่จะทำให้ผลิตภัณฑ์ที่มาจากการวิจัยกลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่ออกสู่ตลาดได้เพื่อให้ผู้บริโภคซื้อไปใช้งานได้จริง ที่สำคัญคือทุกสิ่งจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ทั้งเรื่องคุณภาพ ประสิทธิภาพการใช้งานได้ผลดี มีความทนทาน ผ่านการตรวจสอบยืนยันเรื่องคุณภาพและประสิทธิภาพเรียบร้อยแล้ว พร้อมที่จะนำออกสู่ตลาดหรือนำออกเผยแพร่ต่อสาธารณชนเพื่อให้นำไปใช้งานได้จริงในขั้นตอนนี้กรณีเป็นผลิตภัณฑ์ สินค้า และบริการฝ่ายการตลาดจะต้องเริ่มดำเนินการพัฒนากลยุทธ์การตลาด รวมทั้งเตรียมการด้านราคาช่องทางการจัดจำหน่าย ช่องทางการเผยแพร่ พนักงานขาย การฝึกฝนทักษะการบริการให้พร้อมทุกด้านเพื่อที่จะทำให้ผลิตภัณฑ์ที่มาจากการวิจัยกลายเป็นผลิตภัณฑ์ที่ออกสู่ตลาดได้เพื่อให้ผู้บริโภคซื้อไปใช้งานได้จริง ที่สำคัญคือทุกสิ่งจะต้องเป็นไปตามมาตรฐานตามเกณฑ์ที่ตั้งไว้ ทั้งเรื่องคุณภาพ ประสิทธิภาพการใช้งานได้ผลดี มีความทนทาน ผ่านการตรวจสอบยืนยันเรื่องคุณภาพและประสิทธิภาพเรียบร้อยแล้ว พร้อมที่จะนำออกสู่ตลาดหรือนำออกเผยแพร่ต่อสาธารณชนเพื่อให้นำไปใช้งานได้จริงในขั้นตอนนี้กรณีเป็นผลิตภัณฑ์ สินค้า และบริการฝ่ายการตลาดจะต้องเริ่มดำเนินการพัฒนากลยุทธ์การตลาด รวมทั้งเตรียมการด้านราคาช่องทางการจัดจำหน่าย ช่องทางการเผยแพร่ พนักงานขาย การฝึกฝนทักษะการบริการให้พร้อมทุกด้าน(Launch) เป็นการเริ่มต้นของผลิตภัณฑ์ที่จะก้าวเข้าสู่ ผลิตภัณฑ์ต้องตอบคำถามวิจัย ผลิตภัณฑ์ต้องตอบคำถามวิจัย ผลิตภัณฑ์ต้องตอบคำถามวิจัย (research question) ตามที่ได้กำหนดไว้ ซึ่งลิตภัณฑ์จะต้องถูกทดสอบขนานใหญ่ที่สุด นั่นคือ การนำผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดตลาด เพื่อให้ผู้บริโภคได้ทดลองใช้งานจริง เมื่อผลิตภัณฑ์ถูกนำเข้าสู่ตลาด จะต้องทำการประเมินผลิตภัณฑ์ควบคู่กันไปโดยทันทีและจะทำการประเมินต่อเนื่องไป จนกระทั่งได้รับคำตอบในด้านต่าง ๆ เช่น คุณภาพ ประสิทธิภาพ ความสามารถใช้งานได้ ความสามารถในการแก้ปัญหาได้ ความสามารถในการสร้างความสะดวก ความสามารถในการสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภค แม้กระทั่งอาจถึงขั้นต้องนำผลิตภัณฑ์กลับมาออกแบบใหม่อีกครั้ง (re-design) เพื่อปรับปรุงบางจุดที่ยังบกพร่องถ้าจำเป็นต้องทำ ในขั้นตอนนี้เสียงสะท้อนอาจมีหลากหลายจำเป็นต้องมีการประมวลผลเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงพัฒนาต่อไป question) ตามที่ได้กำหนดไว้ ซึ่งลิตภัณฑ์จะต้องถูกทดสอบขนานใหญ่ที่สุด นั่นคือ การนำผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดตลาด เพื่อให้ผู้บริโภคได้ทดลองใช้งานจริง เมื่อผลิตภัณฑ์ถูกนำเข้าสู่ตลาด จะต้องทำการประเมินผลิตภัณฑ์ควบคู่กันไปโดยทันทีและจะทำการประเมินต่อเนื่องไป จนกระทั่งได้รับคำตอบในด้านต่าง ๆ เช่น คุณภาพ ประสิทธิภาพ ความสามารถใช้งานได้ ความสามารถในการแก้ปัญหาได้ ความสามารถในการสร้างความสะดวก ความสามารถในการสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภค แม้กระทั่งอาจถึงขั้นต้องนำผลิตภัณฑ์กลับมาออกแบบใหม่อีกครั้ง ซึ่งลิตภัณฑ์จะต้องถูกทดสอบขนานใหญ่ที่สุด นั่นคือ การนำผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดตลาดเพื่อให้ผู้บริโภคได้ทดลองใช้งานจริง เมื่อผลิตภัณฑ์ถูกนำเข้าสู่ตลาดจะต้องทำการประเมินผลิตภัณฑ์ควบคู่กันไปโดยทันทีและจะทำการประเมินต่อเนื่องไปจนกระทั่งได้รับคำตอบในด้านต่าง ๆ เช่น คุณภาพ ประสิทธิภาพ ความสามารถใช้งานได้ความสามารถในการแก้ปัญหาได้ ความสามารถในการสร้างความสะดวกความสามารถในการสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภคแม้กระทั่งอาจถึงขั้นต้องนำผลิตภัณฑ์กลับมาออกแบบใหม่อีกครั้ง (re-design) เพื่อปรับปรุงบางจุดที่ยังบกพร่องถ้าจำเป็นต้องทำ ในขั้นตอนนี้เสียงสะท้อนอาจมีหลากหลายจำเป็นต้องมีการประมวลผลเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงพัฒนาต่อไป ในขั้นตอนนี้เสียงสะท้อนอาจมีหลากหลายจำเป็นต้องมีการประมวลผลเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงพัฒนาต่อไปquestion) ตามที่ได้กำหนดไว้ ซึ่งลิตภัณฑ์จะต้องถูกทดสอบขนานใหญ่ที่สุด นั่นคือ การนำผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดตลาด เพื่อให้ผู้บริโภคได้ทดลองใช้งานจริง เมื่อผลิตภัณฑ์ถูกนำเข้าสู่ตลาด จะต้องทำการประเมินผลิตภัณฑ์ควบคู่กันไปโดยทันทีและจะทำการประเมินต่อเนื่องไป จนกระทั่งได้รับคำตอบในด้านต่าง ๆ เช่น คุณภาพ ประสิทธิภาพ ความสามารถใช้งานได้ ความสามารถในการแก้ปัญหาได้ ความสามารถในการสร้างความสะดวก ความสามารถในการสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภค แม้กระทั่งอาจถึงขั้นต้องนำผลิตภัณฑ์กลับมาออกแบบใหม่อีกครั้ง ซึ่งลิตภัณฑ์จะต้องถูกทดสอบขนานใหญ่ที่สุด นั่นคือ การนำผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดตลาดเพื่อให้ผู้บริโภคได้ทดลองใช้งานจริง เมื่อผลิตภัณฑ์ถูกนำเข้าสู่ตลาดจะต้องทำการประเมินผลิตภัณฑ์ควบคู่กันไปโดยทันทีและจะทำการประเมินต่อเนื่องไปจนกระทั่งได้รับคำตอบในด้านต่าง ๆ เช่น คุณภาพ ประสิทธิภาพ ความสามารถใช้งานได้ความสามารถในการแก้ปัญหาได้ ความสามารถในการสร้างความสะดวกความสามารถในการสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภคแม้กระทั่งอาจถึงขั้นต้องนำผลิตภัณฑ์กลับมาออกแบบใหม่อีกครั้ง ซึ่งลิตภัณฑ์จะต้องถูกทดสอบขนานใหญ่ที่สุด นั่นคือ การนำผลิตภัณฑ์เข้าสู่ตลาดตลาดเพื่อให้ผู้บริโภคได้ทดลองใช้งานจริง เมื่อผลิตภัณฑ์ถูกนำเข้าสู่ตลาดจะต้องทำการประเมินผลิตภัณฑ์ควบคู่กันไปโดยทันทีและจะทำการประเมินต่อเนื่องไปจนกระทั่งได้รับคำตอบในด้านต่าง ๆ เช่น คุณภาพ ประสิทธิภาพ ความสามารถใช้งานได้ความสามารถในการแก้ปัญหาได้ ความสามารถในการสร้างความสะดวกความสามารถในการสร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้บริโภคแม้กระทั่งอาจถึงขั้นต้องนำผลิตภัณฑ์กลับมาออกแบบใหม่อีกครั้ง (re-design) เพื่อปรับปรุงบางจุดที่ยังบกพร่องถ้าจำเป็นต้องทำ ในขั้นตอนนี้เสียงสะท้อนอาจมีหลากหลายจำเป็นต้องมีการประมวลผลเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงพัฒนาต่อไป ในขั้นตอนนี้เสียงสะท้อนอาจมีหลากหลายจำเป็นต้องมีการประมวลผลเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงพัฒนาต่อไปในขั้นตอนนี้เสียงสะท้อนอาจมีหลากหลายจำเป็นต้องมีการประมวลผลเพื่อศึกษาความเป็นไปได้ในการปรับปรุงพัฒนาต่อไป          1. การสำรวจ           2. การออกแบบ           3. การนำไปใช้          4. การสังเคราะห์และการสร้างทฤษฎี   กระบวนการวิจัยและพัฒนา           กระบวนการวิจัยและพัฒนา แบ่งออกเป็น          1.          2. การสร้างและการทดลอง          3. ทดสอบหาความเป็นไปได้

         4. การสร้างชิ้นงานต้นแบบที่สมบูรณ์ (FinalApplication) เมื่อได้ผลการประเมินชิ้นงานต้นแบบแล้ว

เนื่องจากกระบวนการวิจัยและพัฒนาแบ่งออกเป็น 2 ส่วนใหญ่

เมื่อพิจารณาจากแผนภาพดังกล่าวเราสามารถอธิบายกระบวนการวิจัยและพัฒนาโดยแยกให้เห็นขั้นตอนของกระบวนการวิจัยและขั้นตอนของกระบวนการพัฒนาได้ กระบวนการวิจัย (Research Process) ประกอบด้วย กระบวนการพัฒนา (Development Process) ประกอบด้วย          1. กระบวนการออกแบบชิ้นงาน แบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอนย่อย คือ              1.1              1.2 การทดสอบ (Test) เมื่อออกแบบชิ้นงานต้นแบบฉบับร่างได้แล้ว              1.3 การปรับปรุง          2. กระบวนการสร้าง          ก่อนที่จะปล่อยชิ้นงานต้นแบบออกไปให้ผู้ใช้งานทดลองใช้จริง          3. กระบวนการเผยแพร่ชิ้นงานต้นแบบ          ในระหว่างการปล่อยชิ้นงานต้นแบบตัวเบต้าให้ประชาชนผู้ใช้งานทดลองใช้งาน   ขั้นตอนการดำเนินงานในการวิจัยและพัฒนา          กระบวนการวิจัยและพัฒนานวัตกรรมบางโครงการใช้เวลาเพียง          การวิจัยและพัฒนานวัตกรรมอาศัยแนวทางเดียวกันกับกระบวนการวิจัยทั่วไป          1.          2. การมุ่งความสนใจไปที่ความคิดใดความคิดหนึ่ง          3. การพัฒนาความคิด (Develop          4. การสร้างชิ้นงานต้นแบบและทำการทดลอง          5. การควบคุมการดำเนินการ          6. การเผยแพร่นวัตกรรมออกสู่ตลาด


AMAZON..เพิ่งอ่านข่าวบ่ายวันนี้ Amazon (ไม่ใช่ร้านกาแฟตรานกแก้วในประเทศไทย) ประกาศจะสร้างคนเอง จะพัฒนาทักษะคนเอง โดยจะพัฒนาพนักงานของบริษัทอเมซอนให้มีทักษะที่จำเป็นต่อการปฏิบัติงาน โดยเฉพาะทักษะทางด้านเทคโนโลยี ถึงแม้ว่าพนักงานคนนั้นจะไม่มีความรู้เรื่องเทคโนโลยีมาก่อนเลยก็ตาม

ทั้งนี้ (ประเด็นอยู่ตรงนี้) Amazon จะไม่รอสถาบันการศึกษาผลิตคนมาให้ เพราะสถาบันการศึกษาผลิตมาให้ "ไม่ทัน" และ "ไม่ตรง" กับความต้องการของ Amazon

มหาวิทยาลัยทุกวันนี้ "ตีโจทย์" ว่าบรรดาบริษัทยักษ์ใหญ่ที่รับคนเข้าทำงานจำนวนมาก ๆ เขาต้องการ "คน" แบบไหน มีความรู้และทักษะอะไรบ้าง ทั้ง Soft Skills และ Hard Skills

การตั้งคำถามกับตัวเองเป็นวิธีการหนึ่งที่ช่วยแก้ปัญหา

1. ทุกวันนี้เรากำลังผลิตคนแบบไหนออกไป?
2. คนที่เราผลิตออกไปทำอะไรได้บ้าง?
3. คนที่เราผลิตออกไปมี mindset อย่างไร?
4. ภูมิทัศน์ของการศึกษา (educational ecosystem) ของเราเป็นอย่างไร?
5. เรามีอะไรที่ต้องจำเป็นต้องเปลี่ยนแปลงไหม? ต้องรีบด่วนขนาดไหน? ต้องเปลี่ยนองค์ประกอบอะไรบ้าง? นโยบายภายในสถาบันการศึกษาเองต้องเปลี่ยนไหม? นโยบายรัฐต้องเปลี่ยนไหม?

TRUE ลุกขึ้นมาทำ Park เพื่อสร้าง Ecosystem ให้เกิดการพัฒนาความคิดสร้างสรรค์ บริษัทหลายแห่งลุกขึ้นมาทำ co-working space


จะว่าไปแล้ว มันชวนให้ย้อนรำลึกไปถึงสิ่งที่เรียกว่า "โต๊ะ" ใต้ถุนตึกและตามสวนของคณะต่าง ๆ ในมหาวิทยาลัย

โต๊ะนี่แหละเป็น co-working space ของเราเมื่อ 30 ปีที่แล้ว นักศึกษานิเทศศาสตร์ ตัดกระดาษ วาดโปสเตอร์ เขียนสคริปต์ เขียนสปอคโฆษณา ซ้อมละคร ก็ที่โต๊ะใต้ถุนคณะนี้แหละ เป็นแหล่งความคิดสร้างสรรค์ เป็นแหล่งสร้างแรงบันดาลใจให้แก่นักศึกษา

ถ้าเป็นคณะนิติศาสตร์ รัฐศาสตร์ "โต๊ะ" ก็คือ co-working space ในการพูดคุยแลกเปลี่ยนทัศนะทางกฎหมายและการเมืองกัน

เรามีสิ่งดีๆ มีคุณค่าหลายอย่าง แต่ที่ขาดไปคือการ ประยุกต์ การต่อยอดทางความคิด และการปฏิบัติ

กินกาแฟอเมริกาโนร้าน Amazon แล้วคุยกันต่อเรื่อง Amazon ที่อเมริกาต่อไป คนไทยเก่งหลายอย่าง คนไทยทำได้ ถ้าคิดจะทำ เรามักจะทำได้เสมอ

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตสำนึก (Consciousness) การสร้างจิตสำนึก และการปลูกฝังจิตสำนึก

ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตสำนึก (Consciousness) การสร้างจิตสำนึก และการปลูกฝังจิตสำนึก ........................................................................................................................................ จิตสำนึกคืออะไร? สร้างอย่างไร? ปลูกฝังอย่างไร? ความหมายของจิตสำนึก จิตสำนึก (Consciousness) หมายถึง ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกตระหนัก และการให้ความสำคัญ ต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกิดขึ้นในระบบความคิดและจิตใจของมนุษย์ ลักษณะของจิตสำนึก จิตสำนึกเป็นสภาวะที่ผสมผสานกันระหว่าง ความรู้ความเข้าใจ ความคิด และความรู้สึก การเกิดจิตสำนึก จิตสำนึก (Consciousness) เกิดจากการรับรู้ การเรียนรู้ การประเมินค่า จากสิ่งเร้าต่าง ๆ ประสบการณ์ จนเกิดเป็นความตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องนั้น สิ่งเร้าที่มนุษย์รับรู้ เรียนรู้ จนพัฒนามาเป็นจิตสำนึก ประกอบด้วยข้อมูลข่าวสาร ประสบการณ์ อารมณ์ สภาพสังคม และวัฒนธรรม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดจิตสำนึก 1. การรับรู้ 2. ทัศนคติ 3. ประสบการณ์ 4. ระยะเวลาในการรับรู้ ความถี่ ความต่อเนื่อง ผลของ

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐฐ์วัฒน์  สุทธิโยธิน 9 มิถุนายน 2559             การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย เป็นขั้นตอนที่สำคัญของการสร้างเครื่องมือวิจัยให้มีคุณภาพ สามารถนำไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อวัดตัวแปรได้ถูกต้อง แม่นยำ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ มีความเชื่อถือได้ ซึ่งผู้วิจัยควรดำเนินการตามลำดับขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. การตรวจสอบเครื่องมือวิจัยเบื้องต้น             การตรวจเครื่องมือวิจัย สอบเบื้องต้น มีสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัยต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี้             1.1 การตรวจสอบเชิงโครงสร้างของเครื่องมือวิจัย ผู้วิจัยต้องตรวจสอบว่า เครื่องมือวิจัยที่ตนเองสร้างขึ้นมานั้น มีความครอบคลุม มีความครบถ้วน ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยทุกข้อหรือไม่ ถ้ายังไม่ครบต้องดำเนินการสร้างเครื่องมือวัดให้ครบ             1.2 การตรวจสอบเชิงแนวคิด ผู้วิจัยต้องตรวจสอบเครื่องมือวิจัยโดยนำ “กรอบแนวคิดการวิจัย” (conceptual framework) มาใช้เป็นหลักในการตรวจสอบเทียบเคียงกับเครื่องมือวิจัยที่สร้างขึ้นว่า มีการ “วัดตัวแปร” หรือมีการ “เขียนข้อคำถาม” ครบถ้วนทุกตัวแปร ทุกประเด็น

นวัตกรรม ตอนที่ 4 กระบวนการสร้างนวัตกรรม

บทนำ การสร้างนวัตกรรมมีลักษณะเป็นกระบวนการ กระบวนการสร้างนวัตกรรมเป็นการสร้างการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการหลัก 4 กระบวนการ คือ           1. กระบวนการสร้างความคิด (Idea generation)           2. กระบวนการสร้างโอกาส (Opportunity recognition)           3. กระบวนการพัฒนา (Development)           4. กระบวนการทำให้เป็นจริง (Realization)             การสร้างนวัตกรรมเป็นเรื่องที่องค์กรจะต้องมีวิสัยทัศน์ มีเป้าหมาย และมีกลยุทธ์ในการดำเนินการ การสร้างนวัตกรรมมีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดการสร้างนวัตกรรมใหม่ขึ้นมา ในการนำเสนอเนื้อหาตอนนี้ที่ว่าด้วยกระบวนการสร้างนวัตกรรม จะได้กล่าวถึงเป้าหมายของการสร้างนวัตกรรม การเปลี่ยนแปลงกับการสร้างนวัตกรรม และกระบวนการสร้างนวัตกรรม เป้าหมายของการสร้างนวัตกรรม การสร้างนวัตกรรมมีเป้าหมาย 10 ประการคือ (O’Sullivan and Dooley, 2009 pp.58-59) 1. การปรับปรุงคุณภาพ (Improve quality) เป็นการปรับปรุงคุณภาพของสินค้า หรือบริการ หรือกระบวนการในการให้บริการหรือกระบวนการในการทำงานขององค์กรให้ดียิ่งขึ้น 2. การสร้างสรรค