ข้ามไปที่เนื้อหาหลัก

"ข่าวข้าว ไม่เร้าใจ เท่า ข่าวเณร"


"ข่าวข้าว ไม่เร้าใจ เท่า ข่าวเณร"

   เอียนจนเกือบจะอ๊วก..อันดับข่าวเอียนประจำวันจันทร์ที่ 15 กรกฎาคม255
            อันดับ 1 ข่าวเณรคำ
            อันดับ 2 ข่าวเณรคำ
            อันดับ 3 ข่าวเณรคำ

            สองสามวันแรก ก็แปลกดี พระขี่เครื่องบิน พระใส่เรย์แบนด์ พระถือหลุยส์
            สี่ห้าวันถัดมา ก็ฮาดี พระแจกรถเก๋ง ฟอร์จูนเนอ์กระบะ ให้พระครู
            หกเจ็ดวัน ก็ Hia ดี พระมีเมียเด็กมัธยม มีกิ๊กอีกเพียบ นี่ก็กำลังหาวิธีตรวจ DNA พระ
            แปดเก้าวัน มัน Ha อะไรกันนี่ พระมีเงินสองร้อยล้าน ควานหาเบาแสะเงิน 
            ทุกหน่วยงานด้านกระบวนการยุติธรรม 
            วิ่งเข้าใส่ เร่งรัดทำคดีเต็มที่ ราวกับประเทศนี้มี "คดีเดียว"

            นี่มัน "ฟรีทีวี" ไม่ใช่ทีวี "ช่องพระ" จะบ้าทำข่าวกันไปถึงไหน
            เรื่องคดีก็ให้ตำรวจเขาว่ากันไป อัยการ กับท่านผู้พิพากษาเขาพร้อมแล้ว..
   
            ว่าแต่ทำสำนวนคดีเสร็จจะทำยังไงต่อ ก็ "ผู้ร้าย" ยังอยู่ต่างประเทศ
            จะให้ประเทศไหน "ส่งผู้ร้ายข้ามแดน" มาให้ประเทศไทยเหรอ มันคงจะส่งมาให้หรอก..หึหึ
            จะให้พ่อเณรสำนึกบาป กลับมารับโทษด้วยตนเอง แล้วมันจะมามั๊ย??

    จะเล่นข่าว จะเล่นเณร กันไม่เลิกเลยหรือไง ??
    ผลกระทบด้านที่เป็นประโยชน์ต่อผู้ชมมีมั๊ยครับ ??
......................................................................

     "จำนำข้าว ข้าวเน่า ข้าวปนพิษ ไปถึงไหน
      ซื้อข้าวถุง กินทีไร หวั่นใจเหลือ
      หากข้าวเน่า กินเข้าไป ตายเป็นเบือ  
      ข้าวเปื้นพิษ ก็ไม่เหลือ รอดชีวี"

      "รอฟังข่าว "ข้าวรมควัน" มันถึงไหน
      เณร Jung Rai ช่างแม่ง เราไม่สน
      เณรขาดศีล เป็นยิ่งกว่า ทรชน
      เอามาบ่น ทำข่าว เราไม่ดู"
     
      "ข้าวที่ไหน กินแล้วตาย ช่วยมาบอก
      อย่ามาหลอก ให้กินไป กลายเป็นผี
      พันธกิจ แบบนี้ สิเข้าที
      พี่นักข่าว คนดี โปรดรับฟัง"  

      "คนค้นคน มือไว ไปกดปุ่ม
      มานั่งกลุ้ม จริงใจ ไปไหมนี่
      ข้าวที่ไหน รู้มา ว่าไม่ดี
      เอามาชี้ ให้เห็น เป็นรายๆ"

      "ซวยสิครับ ถูกจับ หมิ่นประมาท
      ขู่อาฆาต วอนติดคุก แล้วมึงนี่
      ข้าวต้องขาย ไม่ให้มอด แดกฟรีๆ
      โธ่ไอ้นี่ ทำไป ฉิบหายกู"                  
         
      "โชคยังดี ซีพี ไม่เอาเรื่อง
      ที่ยังเคือง คือพาณิชย์ คิดตามจี้
      ภาพลักษณ์ข้าว มันเสียหาย ไอ้อัปปรีย์
      ข้าวกูดี เสือกมาว่า ไอ้ Ha กิน"
............................................................
       ที่น่าเบื่อ กว่าข้าวเน่า คือ ข่าวเณร"
............................................................      
      "ข่าวข้าว" ไม่เร้าใจเท่า "ข่าวเณร"
............................................................
      "โอ้กรรมเวร ข่าวไทย ไม่อยากดู"
............................................................  

ความคิดเห็น

โพสต์ยอดนิยมจากบล็อกนี้

ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตสำนึก (Consciousness) การสร้างจิตสำนึก และการปลูกฝังจิตสำนึก

ทฤษฎีเกี่ยวกับจิตสำนึก (Consciousness) การสร้างจิตสำนึก และการปลูกฝังจิตสำนึก ........................................................................................................................................ จิตสำนึกคืออะไร? สร้างอย่างไร? ปลูกฝังอย่างไร? ความหมายของจิตสำนึก จิตสำนึก (Consciousness) หมายถึง ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึกตระหนัก และการให้ความสำคัญ ต่อเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่เกิดขึ้นในระบบความคิดและจิตใจของมนุษย์ ลักษณะของจิตสำนึก จิตสำนึกเป็นสภาวะที่ผสมผสานกันระหว่าง ความรู้ความเข้าใจ ความคิด และความรู้สึก การเกิดจิตสำนึก จิตสำนึก (Consciousness) เกิดจากการรับรู้ การเรียนรู้ การประเมินค่า จากสิ่งเร้าต่าง ๆ ประสบการณ์ จนเกิดเป็นความตระหนักถึงความสำคัญของเรื่องนั้น สิ่งเร้าที่มนุษย์รับรู้ เรียนรู้ จนพัฒนามาเป็นจิตสำนึก ประกอบด้วยข้อมูลข่าวสาร ประสบการณ์ อารมณ์ สภาพสังคม และวัฒนธรรม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเกิดจิตสำนึก 1. การรับรู้ 2. ทัศนคติ 3. ประสบการณ์ 4. ระยะเวลาในการรับรู้ ความถี่ ความต่อเนื่อง ผลของ

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย

การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย รองศาสตราจารย์ ดร.ณัฐฐ์วัฒน์  สุทธิโยธิน 9 มิถุนายน 2559             การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือวิจัย เป็นขั้นตอนที่สำคัญของการสร้างเครื่องมือวิจัยให้มีคุณภาพ สามารถนำไปใช้เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อวัดตัวแปรได้ถูกต้อง แม่นยำ สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ มีความเชื่อถือได้ ซึ่งผู้วิจัยควรดำเนินการตามลำดับขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. การตรวจสอบเครื่องมือวิจัยเบื้องต้น             การตรวจเครื่องมือวิจัย สอบเบื้องต้น มีสิ่งสำคัญที่ผู้วิจัยต้องปฏิบัติ ดังต่อไปนี้             1.1 การตรวจสอบเชิงโครงสร้างของเครื่องมือวิจัย ผู้วิจัยต้องตรวจสอบว่า เครื่องมือวิจัยที่ตนเองสร้างขึ้นมานั้น มีความครอบคลุม มีความครบถ้วน ตามวัตถุประสงค์ของการวิจัยทุกข้อหรือไม่ ถ้ายังไม่ครบต้องดำเนินการสร้างเครื่องมือวัดให้ครบ             1.2 การตรวจสอบเชิงแนวคิด ผู้วิจัยต้องตรวจสอบเครื่องมือวิจัยโดยนำ “กรอบแนวคิดการวิจัย” (conceptual framework) มาใช้เป็นหลักในการตรวจสอบเทียบเคียงกับเครื่องมือวิจัยที่สร้างขึ้นว่า มีการ “วัดตัวแปร” หรือมีการ “เขียนข้อคำถาม” ครบถ้วนทุกตัวแปร ทุกประเด็น

นวัตกรรม ตอนที่ 4 กระบวนการสร้างนวัตกรรม

บทนำ การสร้างนวัตกรรมมีลักษณะเป็นกระบวนการ กระบวนการสร้างนวัตกรรมเป็นการสร้างการปฏิสัมพันธ์ระหว่างกระบวนการหลัก 4 กระบวนการ คือ           1. กระบวนการสร้างความคิด (Idea generation)           2. กระบวนการสร้างโอกาส (Opportunity recognition)           3. กระบวนการพัฒนา (Development)           4. กระบวนการทำให้เป็นจริง (Realization)             การสร้างนวัตกรรมเป็นเรื่องที่องค์กรจะต้องมีวิสัยทัศน์ มีเป้าหมาย และมีกลยุทธ์ในการดำเนินการ การสร้างนวัตกรรมมีความเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลง การเปลี่ยนแปลงทำให้เกิดการสร้างนวัตกรรมใหม่ขึ้นมา ในการนำเสนอเนื้อหาตอนนี้ที่ว่าด้วยกระบวนการสร้างนวัตกรรม จะได้กล่าวถึงเป้าหมายของการสร้างนวัตกรรม การเปลี่ยนแปลงกับการสร้างนวัตกรรม และกระบวนการสร้างนวัตกรรม เป้าหมายของการสร้างนวัตกรรม การสร้างนวัตกรรมมีเป้าหมาย 10 ประการคือ (O’Sullivan and Dooley, 2009 pp.58-59) 1. การปรับปรุงคุณภาพ (Improve quality) เป็นการปรับปรุงคุณภาพของสินค้า หรือบริการ หรือกระบวนการในการให้บริการหรือกระบวนการในการทำงานขององค์กรให้ดียิ่งขึ้น 2. การสร้างสรรค